ทำไมเกรดเฉลี่ยและกิจกรรมระหว่างเรียนจึงสำคัญต่อการสมัครงาน
หลายคนคิดตั้งคำถามว่าเกรดเฉลี่ยและกิจกรรมระหว่างเรียนนั้นสำคัญมากแค่ไหนกันแน่ตอนเรียนในมหาวิทยาลัยหลายคนคงตั้งงคำถามนี้ขึ้นมาในใจแต่ก็ไม่เคยได้รับคำตอบที่ชัดเจนหรือได้คำตอบที่ไม่ถูกต้องมาหลายคนอาจจะคิดว่าเรียนให้จบก็พอแล้วไม่จำเป็นต้องได้เกรดดีๆกิจกรรมก็ไม่จำเป็นหลายคนคิดแบบนี้หลายคนอาจจะไม่เข้าใจและไม่สามารถถามใครได้อีกด้วยจึงทำให้คำถามนั้นค้างมาตลอด
หลายคนเห็นรุ่นพี่ได้เกรดไม่ดีแต่ได้งานดีๆส่วนรุ่นพี่ที่ได้เกรดดีๆกลับยังไม่มีงานทำยิ่งกิจกรรมไม่ต้องพูดถึงแค่เรียนก็ไม่มีเวลาแล้วยิ่งเป็นนักกิจกรรมแล้วยิ่งทำให้จบช้าเข้าไปอีกอย่างนี้ใครจะเรียนให้จบเกรดสวยๆและเป็นนักกิจกรรมได้อีกด้วยหลายคนจะพบเจอกับสิ่งเหล่านี้มาตลอดในการเรียนมหาลัย
สำหรับคนที่คิดแบบข้อความข้างต้นวันนี้เรามีคำตอบมาให้แล้วว่าแบบไหนถึงจะถูกต้องและดีที่สุดที่หลายคนถามว่าเกรดเฉลี่ยและกิจกรรมจำเป็นมากแค่ไหนต้องขอบอกว่าสำคัญมากแต่ไม่ใช่ว่าจะสำคัญทั้งหมดยังมีอีกหลายๆอย่างที่ทำให้เราได้งานหรือไม่ได้งานเราอย่ามองข้ามสิ่งเล็กน้อยๆซึ่งนำสู่ความหายนะเราต้องใส่ใจมันให้มากๆแม้ว่ามันจะเล็กแค่ไหนก็ตามเช่นเรื่องการแต่งตัวหรือมรรยาทเรื่องต่างๆ
เกรดเฉลี่ยหรือGPAสำหรับคนที่ต้องการหางานง่ายๆอย่างน้อยต้องมีเกรดเฉลี่ย3.00ขึ้นไปเพราะเมื่อเกรดเราอยู่ในช่วงนี้จะทำให้เราหางานได้งานกว่าแต่ใช่ว่าเกรดเราน้อยกว่านี้จะไม่มีโอกาสได้งานขึ้นอยู่กับความสามารถของเราด้วยถ้าเราเกรดเฉลี่ยสูงแต่เราทำอะไรไม่เป็นเลยไม่นานบริษัทก็ต้องไล่เราออกแต่ถ้าเราเกรดเฉลี่ยไม่สูงมากแต่เราสามารถทำอะไรได้หลายๆอย่างเราจะมีความมั่นคงในการทำงานมากกว่าเห็นได้ว่าเกรดเฉลี่ยเป็นแค่ใบเบิกทางเข้าไปทำงานได้ง่ายแต่ไม่ได้เป็นตัวบอกว่าเราจะทำงานได้ดีตัวที่จะบอกว่าเราทำงานได้ดีคือความขยันและกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลามีความตรงเวลาเสมอเพราะฉะนั้นเกรดเฉลี่ยจึงมีความสำคัญแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้นอีกส่วนคือความตั้งใจในการทำงานนั้นเอง
ทำไมจึงใช้เกรดเฉลี่ยในการสมัครงานเพราะว่าเกรดเฉลี่ยนที่อยู่ในระดับต่างๆเป็นตัวบอกว่าเรามีความรับผิดชอบในการเรียนมากแค่ไหนซึ่งเป็นตัวบอกว่าเรามีความรับผิดชอบมากแค่ไหนนายจ้างต้องการคนที่เก่งๆมาทำงานแน่นอนเขาจะดูเกรดเฉลี่ยเป็นอันดับแรกเพราะว่าคงไม่มีใครอยากได้คนไม่เก่งมาทำงานเพราะฉะนั้นเราต้องรักษาเกรดเฉลี่ยของเราให้อยู่ในระดับมาตรฐาน2.50-3.00ก็เป็นอันโอเคถ้ามากกว่านั้นแสดงว่าเก่งมากๆอาจจะไปหางานในบริษัทใหญ่ๆหรือบริษัทต่างชาติดูเพราะบริษัทเหล่านี้จะมีมาตรฐานเกรดเฉลี่ยที่รับอยู่แต่อย่าลืมว่าเราต้องทำงานเป็นด้วยถ้าเราทำงานไปเรื่อยๆอาจจะถูกไล่ออก
กิจกรรมระหว่างเรียนก็เป็นสิ่งที่สำคัญแต่ไม่ใช่ทั้งหมดเหมือนกับเกรดเฉลี่ยกิจกรรมเป้นตัวบอกว่าเราสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้หรือไม่มีการเรียนรู้การทำงานเป็นระบบหรือเปล่าการทำงานเป็นทีมซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญในการทำงานในบริษัททั่วไปเพราะต้องมีการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างแน่นอนถ้าเราผ่านกิจกรรมเหล่านี้มาแสดงว่าเรามีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นจึงเป็นสิ่งช่วยให้บริษัทพิจารณาให้เราทำงานได้ง่ายขึ้นเพราะไม่จำเป็นต้องให้เรามาปรับตัวอีกเพราะเราเคยผ่านมาก่อนแล้ว
เราเลือกงานไม่ใช่งานเลือกเรา
อย่าไปยึดกับคำว่างานเลือกเราไม่ใช่เราเลือกงานเราเองก็มีสิทธิที่จะเลือกงานได้เหมือนกันการสัมภาษณ์งานเป็นช่วงเวลาที่น้ายจ้างและอนาคตลูกจ้างจะได้มาพบปะกันแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ต่างฝ่ายต่างอยากรู้จากอีกฝ่ายด้วยกันซึ่งจะเป็นตัวช่วยตัดสินว่าทั้งสองฝ่ายจะยอมทำงานร่วมกันหรือไม่เหมือนกับการค้าขายผู้ซื้อต้องเต็มใจซื้อและผู้ขายต้องเต็มใจขายจึงจะทำให้เกิดการค้าขายขึ้นมาได้ไม่มีใครสามารถบังคับใครได้การจ้างงานก็คล้ายๆกันต้องเกิดจากความยินยอมของทั้งสองฝ่ายถ้านายจ้างสนใจจ้างเราแต่เราไม่อยากทำงานร่วมด้วยการจ้างงานก็จะไม่เกิดขึ้นกลับกันถ้าเราสนใจทำงานแต่นายจ้างไม่ยินดีรับเราการจ้างงานก็ไม่เกิดขึ้นเช่นเดียวกันดังนั้นการสัมภาษณ์งานจึงเป็นโอกาสที่ให้ทั้งสองฝ่ายมาพบปะกันทำความรู้จักซึ่งกันและกันเบื้องต้นเราจะได้รู้ว่างานที่ต้องทำเป็นอย่างและบรรยากาศของบริษัทเป็นอย่างไรฝ่ายนายจ้างก็จะได้รู้นิสัยและลักษณะการทำงานของเราซึ่งต่างฝ่ายต่างก็ได้ประโยชน์
ฝ่ายลูกจ้างไม่ควรคิดว่าตัวเองเป็นแค่ตัวเลือหนึ่งของงานแต่ต้องคิดว่าเราสามารถเลือกทำงานอะไรก็ได้ที่ความสามารถเรานั้นเหมาะสมเราสามารถปฏิเสธนายจ้างได้ถ้าเราเกิดไม่พอใจในข้อเสนอหรือข้อเสนอนั้นไม่ยุติธรรมไม่เหมาะสมกับความสามารถที่เรามีการสัมภาษณ์งานจึงเป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่เราจะสอบถามข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับตัวเราให้เราถามสิ่งต่างๆให้ละเอียดให้หายสงสัยในเรื่องต่างๆเพื่อเป็นตัวช่วยในการประกอบการตัดสินใจเข้าทำงาน
โดยปกติแล้วการสัมภาษณ์งานทางบริษัทจะบอกขอบเขตงานที่เราต้องทำให้คุณเข้าใจถึงการทำงานว่าทำอะไรบ้างแล้วก็จะมีช่วงให้คุณถามคำถามในเวลาช่วงนั้นถ้าเรามีข้อสงสัยใดๆก็ตามให้เราถามให้หมดให้ละเอียดในสิ่งที่เราสงสัยหรือต้องการรู้เพราะจะมีโอกาสแค่ครั้งเดียวเท่านั้นอาจจะถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่บริษัทบอกเรามาถือถามเกี่ยวกับบรรยากาศการทำงานเวลาเลิกงานหรือเวลาเริ่มทำงานวัฒนธรรมขององค์กรสิ่งที่ไม่สามารถหาได้จากภายนอกต้องเป็นคนภายในเท่านั้นถึงรู้เป็นต้นแต่ไม่ควรถามจนเกินพอดีเพราะจะกลายเป็นว่าเราเป็นคนสัมภาษณ์งานมากกว่าถูกสัมภาษณ์ถ้าเกิดเรารู้ข้อมูลต่างๆแล้วเราไม่ค่อยชอบหรือไม่ถูกชะตาเราก็สามารถปฏิเสธได้เพียงเลือกใช้คำที่เหมาะสมเช่นขอนำข้อเสนอไปพิจารณาก่อนค่อยมาให้คำตอบเป็นต้นให้บอกเหตุผลเป็นไปตามความเป็นจริงการปฏิเสธไม่ใช่เรื่องผิดถ้าเกิดเราบอกเหตุผลที่ไม่เป็นความจริงแล้วบริษัทแก้ไขปัญหาให้เพราะเขาอยากได้เรามาทำงานจริงๆจะกลายเป็นว่าบริษัทแก้ไขปัญหาให้เราผิดจุดซึ่งส่งผลเสียต่อเราเอง
ความจริงเป็นสิ่งที่เราสมควรพูดมากกว่าการโกหกหากมีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะอะไรให้พูดไปเลยไม่ต้องกลัวเพราะเรามีสิทธิที่จะถามดีกว่าปล่อยให้เราเข้าไปทำงานแล้วยังสงสัยคาใจแต่ไม่โอกาสได้ถามการพูดความจริงทำให้แก้ไขปัญหาได้ตรงจุดทำให้สามารถปิดประเด็นได้ไม่เกิดความระแวงหรือสงสัยในอีกฝ่ายเหมือนการซื้อขายถ้าอีกฝ่ายมีข้อสงสัยแต่ไม่ยอมพูดก็จะทำให้การขายล่าช้าจนกระทั่งทำให้เกิดปัญหาตามมาในภายหลังเมื่อเราฟังรายละเอียดต่างๆแล้วเราเกิดชอบขึ้นมาแต่เราไม่สามารถพูดออกไปได้ว่าชอบงานนี้อยากทำเลือกเราเถอะเราอาจจะใช้การแสดงความสนใจในสิ่งที่เขาพูดเพื่อให้เขารู้ว่าเราสนใจในงานที่เขาพูดมาจะทำให้ผู้สัมภาษณ์ประทับใจว่าเราสนใจในสิ่งที่เขาพูดเมื่อบริษัทถามข้อมูลเราที่เขาอยากรู้เราก็มีสิทธิถามข้อมูลที่เราอยากเหมือนกันและเมื่องานมีสิทธิเลือกเราเราก็มีสิทธิเลือกงานเหมือนกัน
ฝ่ายลูกจ้างไม่ควรคิดว่าตัวเองเป็นแค่ตัวเลือหนึ่งของงานแต่ต้องคิดว่าเราสามารถเลือกทำงานอะไรก็ได้ที่ความสามารถเรานั้นเหมาะสมเราสามารถปฏิเสธนายจ้างได้ถ้าเราเกิดไม่พอใจในข้อเสนอหรือข้อเสนอนั้นไม่ยุติธรรมไม่เหมาะสมกับความสามารถที่เรามีการสัมภาษณ์งานจึงเป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่เราจะสอบถามข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับตัวเราให้เราถามสิ่งต่างๆให้ละเอียดให้หายสงสัยในเรื่องต่างๆเพื่อเป็นตัวช่วยในการประกอบการตัดสินใจเข้าทำงาน
โดยปกติแล้วการสัมภาษณ์งานทางบริษัทจะบอกขอบเขตงานที่เราต้องทำให้คุณเข้าใจถึงการทำงานว่าทำอะไรบ้างแล้วก็จะมีช่วงให้คุณถามคำถามในเวลาช่วงนั้นถ้าเรามีข้อสงสัยใดๆก็ตามให้เราถามให้หมดให้ละเอียดในสิ่งที่เราสงสัยหรือต้องการรู้เพราะจะมีโอกาสแค่ครั้งเดียวเท่านั้นอาจจะถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งที่บริษัทบอกเรามาถือถามเกี่ยวกับบรรยากาศการทำงานเวลาเลิกงานหรือเวลาเริ่มทำงานวัฒนธรรมขององค์กรสิ่งที่ไม่สามารถหาได้จากภายนอกต้องเป็นคนภายในเท่านั้นถึงรู้เป็นต้นแต่ไม่ควรถามจนเกินพอดีเพราะจะกลายเป็นว่าเราเป็นคนสัมภาษณ์งานมากกว่าถูกสัมภาษณ์ถ้าเกิดเรารู้ข้อมูลต่างๆแล้วเราไม่ค่อยชอบหรือไม่ถูกชะตาเราก็สามารถปฏิเสธได้เพียงเลือกใช้คำที่เหมาะสมเช่นขอนำข้อเสนอไปพิจารณาก่อนค่อยมาให้คำตอบเป็นต้นให้บอกเหตุผลเป็นไปตามความเป็นจริงการปฏิเสธไม่ใช่เรื่องผิดถ้าเกิดเราบอกเหตุผลที่ไม่เป็นความจริงแล้วบริษัทแก้ไขปัญหาให้เพราะเขาอยากได้เรามาทำงานจริงๆจะกลายเป็นว่าบริษัทแก้ไขปัญหาให้เราผิดจุดซึ่งส่งผลเสียต่อเราเอง
ความจริงเป็นสิ่งที่เราสมควรพูดมากกว่าการโกหกหากมีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะอะไรให้พูดไปเลยไม่ต้องกลัวเพราะเรามีสิทธิที่จะถามดีกว่าปล่อยให้เราเข้าไปทำงานแล้วยังสงสัยคาใจแต่ไม่โอกาสได้ถามการพูดความจริงทำให้แก้ไขปัญหาได้ตรงจุดทำให้สามารถปิดประเด็นได้ไม่เกิดความระแวงหรือสงสัยในอีกฝ่ายเหมือนการซื้อขายถ้าอีกฝ่ายมีข้อสงสัยแต่ไม่ยอมพูดก็จะทำให้การขายล่าช้าจนกระทั่งทำให้เกิดปัญหาตามมาในภายหลังเมื่อเราฟังรายละเอียดต่างๆแล้วเราเกิดชอบขึ้นมาแต่เราไม่สามารถพูดออกไปได้ว่าชอบงานนี้อยากทำเลือกเราเถอะเราอาจจะใช้การแสดงความสนใจในสิ่งที่เขาพูดเพื่อให้เขารู้ว่าเราสนใจในงานที่เขาพูดมาจะทำให้ผู้สัมภาษณ์ประทับใจว่าเราสนใจในสิ่งที่เขาพูดเมื่อบริษัทถามข้อมูลเราที่เขาอยากรู้เราก็มีสิทธิถามข้อมูลที่เราอยากเหมือนกันและเมื่องานมีสิทธิเลือกเราเราก็มีสิทธิเลือกงานเหมือนกัน
เขียนจดหมายสมัครงานให้เป็นที่สนใจ
ก่อนอื่นเรามารู้จักจดหมายนำกันก่อนจดหมายนำนั้นเหมือนกับจดหมายที่เป็นทางการทั่วไปมีชื่อและที่อยู่ของผู้มาสมัครงานวันที่ชื่อของผู้ที่อำนาจในการตัดสินใจรับใบสมัครส่วนใหญ่มักจะเป็นคนที่มีตำแหน่งสูงเช่นผู้จัดการหรือเจ้าของบริษัทเป็นต้นในกรณีที่บริษัทไม่ใหญ่มากเนื้อหาของจดหมายไม่ควรมีความยาวมากเกิน1หน้าA4เราไม่จำเป็นต้องใส่รายละเอียดให้มากเพียงแค่สิ่งที่จำเป็นเท่านั้นเพราะว่ารายละเอียดจะไปอยู่ในResumeหมดแล้วทั้งหมดแล้วจดหมายนำต้องมีอะไรบ้างที่จะทำให้เราได้ถูกเรียกเข้าไปสัมภาษณ์งานมีดังต่อไปนี้ชื่อนามสกุลที่อยู่เบอร์ติดต่ออย่างน้อยสองเบอร์และตำแหน่งที่สนใจสมัครทุกสิ่งข้างต้นต้องเขียนให้ชัดเจนมองเห็นได้ง่ายเพราะเป็นเอกสารชุดแรกที่บริษัทจะได้รับจากเราแล้วต้องลงลายเซ็นต์กำกับด้วยในตอนท้ายของจดหมายก่อนส่งเอกสารต้องตรวจสอบให้ละเอียดรอบคอบเสมอเพื่อป้องกันความผิดพลาดเล็กน้อยๆที่จะเกิดขึ้น
สิ่งทีหลายคนผิดพลาดในการส่งจดหมายอย่างมากที่สุดคือการเขียนชื่อบริษัทผิดเป็นเรื่องที่ไม่ให้น่าอภัยอย่างมากเพราะแม้กระทั่งชื่อบริษัทยังเขียนผิดแล้วการทำงานจะทำผิดพลาดมากแค่ไหนไม่ว่าเราจะเขียนด้วยมือหรือพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์เราต้องใช้กระดาษA4เสมอไม่ควรใช้กระดาษรีไซเคิลเด็ดขาดเพราะเป็นเอกสารสำคัญรวมทั้งหลักฐานต่างๆทั้งสำเนาบัตรประชาชนสำเนาทะเบียนบ้านก็ต้องเซ็นต์กำกับอีกด้วยและสีของกระดาษควรจะเป็นสีขาวและสิ่งที่ต้องระวังคือกระดาษขาดยับหรือเปียกน้ำเพราะจะทำให้เอกสารเราดูไม่เรียบร้อยและอาจจะทำให้ข้อมูลบางอย่างขาดหายไปเราต้องตระหนักอยู่เสมอว่าเราไม่ได้ทำงานศิลปะส่งอาจารย์จึงไม่จำเป็นต้องใส่สีสันหรือลวดลายลงไปในจดหมายสมัครงานเว้นแต่ว่าบริษัทจะขอผลงานตัวอย่างของเราเพื่อประกอบการพิจารณาเราก็ต้องมีส่วนที่แสดงผลงานแนบไปด้วยแต่ถ้าเป็นตำแหน่งที่ไม่จำเป็นต้องใช้เราไม่ควรจะตกแต่งลวดลายหรือสีสันเพิ่มเติมเด็ดขาดเพราะจะทำให้บริษัทเข้าใจผิดคิดว่าเรามาส่งผลงานประกวดมากกว่ามาส่งจดหมายสมัครงานสำหรับResumeและจดหมายเราต้องทำทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเมื่อเราไปสมัครงานบริษัทคนไทยเราก็ใช้ภาษาไทยส่งไปส่วนถ้าเราไปสมัครบริษัทต่างชาติเราก็ใช้ภาษาอังกฤษส่งไปทั้งนี้เราไม่ควรส่งผิดเด็ดขาดเพราะถ้าเราส่งผิดแล้วบริษัทเห้นว่าผิดเขาอาจจะทิ้งจดหมายนั้นไปเลยก็ได้
รูปถ่ายสำคัญมากแค่ไหนรูปถ่ายเป็นหลักฐานการสมัครงานอีกอย่างที่สำคัญอย่างยิ่งเมื่อresumeเป็นการบอกตัวตนคุณรูปถ่ายก็คือการบอกหน้าตาคุณการส่งรูปถ่ายขึ้นอยู่กับว่าบริษัทกำหนดให้ส่งไปเท่าไหร่ที่เป็นที่นิยมคือการติดกาวแนบไปกับใบสมัครหรือจะใช้วิธีสแกนก็ได้ตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุดคือมุมขวาบนต้องอย่าลืมติดรูปถ่ายด้วยถ้าเราใส่ไปเฉยๆในซองอาจจะทำให้รูปถ่ายของเราสูญหายก็ได้ทางที่ดีควรเย็บติดหรือติดกาวเลยยิ่งดีรูปถ่ายสีหรือรูปถ่ายขาวดำนั้นขึ้นอยู่กับว่าบริษัทนั้นกำหนดมาหรือไม่ว่าต้องการแบบใดทั้งนี้รูปถ่ายสีจะเป็นที่นิยมมากกว่าเพราะว่าทำให้เห็นรายละเอียดได้ชัดเจนมากยิ่งกว่าและที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือไม่ควรแต่งรูปจนมากเกินไปถ้าเป็นตำแหน่งงานที่ไม่ได้ใช้หน้าตาในการทำงานก็ไม่เป็นไรแต่ถ้าตำแหน่งงานที่ใช้หน้าตาทำงานเช่นพริ้ตตี้หรือประชาสัมพันธ์การส่งรูปถ่ายที่ใกล้เคียงกับตัวจริงมากที่สุดจึงเป็นสิ่งสำคัญเพราะรูปถ่ายจะเป็นสิ่งทีพิจารณาอีกอย่างหนึ่งสำหรับงานในตำแหน่งเหล่านี้
สุดท้ายคือการเตรียมส่งเอกสารทั้งหมดเราต้องตรวจสอบให้ดีว่ามีอะไรผิดพลาดคือขาดหายหรือไม่ก่อนที่จะส่งไปให้บริษัทเพราะเมื่อส่งไปแล้วเราไม่สามารถขอคืนได้อีกและต้องจัดเรียงเอกสารให้ตรงตามที่บริษัทกำหนดมาเพื่องานต่อการนำไปใช้เย็บเอกสารต่างๆให้เรียบร้อยป้องกันการสูญหายของเอกสารชิ้นใดชิ้นหนึ่งเมื่อถูกนำมาใช้พิจารณาและที่สำคัญไม่ควรใช้ซองที่ทำให้เอกสารภายในเสียหายหรือพับกันจนเอกสารเสียหายสุดท้ายคิดแสตมป์ตามไปรณีย์และต้องชำระค่าส่งด้วยไม่เช่นนั้นไปรณีย์จะไปเก้บที่บริษัทซึ่งจะทำให้เราดูไม่ดีตั้งแต่แรก
สิ่งทีหลายคนผิดพลาดในการส่งจดหมายอย่างมากที่สุดคือการเขียนชื่อบริษัทผิดเป็นเรื่องที่ไม่ให้น่าอภัยอย่างมากเพราะแม้กระทั่งชื่อบริษัทยังเขียนผิดแล้วการทำงานจะทำผิดพลาดมากแค่ไหนไม่ว่าเราจะเขียนด้วยมือหรือพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์เราต้องใช้กระดาษA4เสมอไม่ควรใช้กระดาษรีไซเคิลเด็ดขาดเพราะเป็นเอกสารสำคัญรวมทั้งหลักฐานต่างๆทั้งสำเนาบัตรประชาชนสำเนาทะเบียนบ้านก็ต้องเซ็นต์กำกับอีกด้วยและสีของกระดาษควรจะเป็นสีขาวและสิ่งที่ต้องระวังคือกระดาษขาดยับหรือเปียกน้ำเพราะจะทำให้เอกสารเราดูไม่เรียบร้อยและอาจจะทำให้ข้อมูลบางอย่างขาดหายไปเราต้องตระหนักอยู่เสมอว่าเราไม่ได้ทำงานศิลปะส่งอาจารย์จึงไม่จำเป็นต้องใส่สีสันหรือลวดลายลงไปในจดหมายสมัครงานเว้นแต่ว่าบริษัทจะขอผลงานตัวอย่างของเราเพื่อประกอบการพิจารณาเราก็ต้องมีส่วนที่แสดงผลงานแนบไปด้วยแต่ถ้าเป็นตำแหน่งที่ไม่จำเป็นต้องใช้เราไม่ควรจะตกแต่งลวดลายหรือสีสันเพิ่มเติมเด็ดขาดเพราะจะทำให้บริษัทเข้าใจผิดคิดว่าเรามาส่งผลงานประกวดมากกว่ามาส่งจดหมายสมัครงานสำหรับResumeและจดหมายเราต้องทำทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเมื่อเราไปสมัครงานบริษัทคนไทยเราก็ใช้ภาษาไทยส่งไปส่วนถ้าเราไปสมัครบริษัทต่างชาติเราก็ใช้ภาษาอังกฤษส่งไปทั้งนี้เราไม่ควรส่งผิดเด็ดขาดเพราะถ้าเราส่งผิดแล้วบริษัทเห้นว่าผิดเขาอาจจะทิ้งจดหมายนั้นไปเลยก็ได้
รูปถ่ายสำคัญมากแค่ไหนรูปถ่ายเป็นหลักฐานการสมัครงานอีกอย่างที่สำคัญอย่างยิ่งเมื่อresumeเป็นการบอกตัวตนคุณรูปถ่ายก็คือการบอกหน้าตาคุณการส่งรูปถ่ายขึ้นอยู่กับว่าบริษัทกำหนดให้ส่งไปเท่าไหร่ที่เป็นที่นิยมคือการติดกาวแนบไปกับใบสมัครหรือจะใช้วิธีสแกนก็ได้ตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุดคือมุมขวาบนต้องอย่าลืมติดรูปถ่ายด้วยถ้าเราใส่ไปเฉยๆในซองอาจจะทำให้รูปถ่ายของเราสูญหายก็ได้ทางที่ดีควรเย็บติดหรือติดกาวเลยยิ่งดีรูปถ่ายสีหรือรูปถ่ายขาวดำนั้นขึ้นอยู่กับว่าบริษัทนั้นกำหนดมาหรือไม่ว่าต้องการแบบใดทั้งนี้รูปถ่ายสีจะเป็นที่นิยมมากกว่าเพราะว่าทำให้เห็นรายละเอียดได้ชัดเจนมากยิ่งกว่าและที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือไม่ควรแต่งรูปจนมากเกินไปถ้าเป็นตำแหน่งงานที่ไม่ได้ใช้หน้าตาในการทำงานก็ไม่เป็นไรแต่ถ้าตำแหน่งงานที่ใช้หน้าตาทำงานเช่นพริ้ตตี้หรือประชาสัมพันธ์การส่งรูปถ่ายที่ใกล้เคียงกับตัวจริงมากที่สุดจึงเป็นสิ่งสำคัญเพราะรูปถ่ายจะเป็นสิ่งทีพิจารณาอีกอย่างหนึ่งสำหรับงานในตำแหน่งเหล่านี้
สุดท้ายคือการเตรียมส่งเอกสารทั้งหมดเราต้องตรวจสอบให้ดีว่ามีอะไรผิดพลาดคือขาดหายหรือไม่ก่อนที่จะส่งไปให้บริษัทเพราะเมื่อส่งไปแล้วเราไม่สามารถขอคืนได้อีกและต้องจัดเรียงเอกสารให้ตรงตามที่บริษัทกำหนดมาเพื่องานต่อการนำไปใช้เย็บเอกสารต่างๆให้เรียบร้อยป้องกันการสูญหายของเอกสารชิ้นใดชิ้นหนึ่งเมื่อถูกนำมาใช้พิจารณาและที่สำคัญไม่ควรใช้ซองที่ทำให้เอกสารภายในเสียหายหรือพับกันจนเอกสารเสียหายสุดท้ายคิดแสตมป์ตามไปรณีย์และต้องชำระค่าส่งด้วยไม่เช่นนั้นไปรณีย์จะไปเก้บที่บริษัทซึ่งจะทำให้เราดูไม่ดีตั้งแต่แรก
ทำอย่างไรเมื่อตื่นเต้นตอนเข้าห้องสัมภาษณ์งาน
สำหรับคนท่ไม่เคยสัมภาษณ์งานมาก่อนต้องมีความกลัวเป็นธรรมดากลัวว่าจะอะไรผิดหรือทำอะไรที่ทำให้ไม่ถูกเลือกรับเข้าทำงานจึงทำให้เกิดความประหม่ากลายเป็นเรื่องใหญ่โตเพราะบางครั้งทำให้เกิดการพูดติดๆขัดๆหรือพูดอะไรไม่ออกทำให้การสัมภาษณ์งานนั้นล้มเหลวแตกต่างจากคนที่เคยสัมภาษณ์งานมาแล้วหลายๆครั้งความประหม่าและความตื่นเต้นนั้นจะหายไปเพราะเกิดความเคยชินกับการสัมภาษณ์งานแล้วและยังจับทางของผู้สัมภาษณ์ได้อีกด้วยว่าจะถามอะไรและทดสอบอะไรสำหรับผู้ที่ไม่เคยสัมภาษณ์งานมาก่อนแน่นอนว่าความกลัวที่จะผิดพลาดนั้นมีได้ทุกคนแต่ทำไมเราไม่ลองตั้งสติและมองว่ามันเป็นแค่การพูดคุยระหว่างเพื่อนกันดูละแต่ต้องตั้งอยู่บนความสุภาพด้วยนะไม่ใช่ใส่อารมณ์จนเกินไปทำให้ดูเหมือนว่าเราไม่ให้เกียรติผู้สัมภาษณ์ทั้งนี้เราต้องดูสถานการณ์ด้วยว่าตอนไหนควรพูดจริงจังตอนไหนควรพูดเล่นและไม่ควรพูดจนยืดยาวเกินไปเพราะจะทำให้น่าเบื่อ
เมื่อเรารู้สึกว่าเรากลัวหรือประหม่าให้เรานึกย้อนกลับไปว่าก่อนที่เราจะถึงด่านสุดท้ายคือการสัมภาษณ์งานนั้นเราผ่านอะไรมาบ้างเรียนมาหนักแค่ไหนกว่าจะจบและต้องตะเวนหางานส่งใบสมัครงานไม่รู้กี่ร้อยใบจนถูกเรียกมาสัมภาษณ์เราจะยอมแพ้หรือเหลือเพียงแค่ด่านสุดท้ายคือการสัมภาษณ์งานเท่านั้นเองเราต้องสู้ต้องพยายามสิ่งไหนที่เรากลัวขจัดมันออกไปให้หมดเหลือแต่ความกล้าและความมุ่งมั่นเท่านั้นการสัมภาษณ์งานนั้นมีอยู่หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับว่าตำแหน่งงานนั้นมีความสำคัญมากเพียงใดเราต้องเอาชนะและผ่านการสัมภาษณ์งานนี้ไปให้ได้ไม่ว่าจะยากสักเพียงใดแต่คงไม่ยากเกินความพยายามของเรา
การสัมภาษณ์งานแบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ผู้สัมภาษณ์1คนกับผู้ถูกสัมภาษณ์อีก1คนเป็นการสัมภาษณ์ที่นิยมอย่างมากกับงานในตำแหน่งเริ่มต้นซึ่งความน่ากลัวมีไม่มากเท่าไหร่ถ้าเราสามารถคุมสถานการณ์ได้เราก็ผ่านได้อย่างง่ายดายแต่ข้อเสียของการสัมภาษณ์แบบนี้คือมีผู้สัมภาษณ์หรือผู้ตัดสินว่าเราได้รับเลือกเข้าทำงานหรือไม่เพียงคนเดียวถ้าเกิดเขาไม่ชอบคำตอบของเราหรือมีอคติกับเราเราก็หมดโอกาสแทบจะในทันทีเพราะไม่มีใครมาเเย้งเพราะมีผู้ตัดสินเพียงคนเดียว
การสัมภาษณ์งานแบบสองต่อหนึ่งหรือสามต่อหนึ่ง
ผู้สัมภาษณ์1คนกับผู้ถูกสัมภาษณ์อีก2คนหรือ3คนเป็นการสัมภาษณ์งานในตำแหน่งที่มีการแข่งขันสูงขึ้นมาอีกเพราะว่าบริษัทจะเรียกผู้สมัครสองหรือสามคนมาพร้อมกันและตั้งคำถามเพื่อดูทัศนคติและการแก้ปัญหาเพื่อหาคนที่เหมาะสมที่สุดหรือจะเป็นผู้สัมภาษณ์2คนหรือ3คนกับผู้ถูกสัมภาษณ์อีก1คนเพื่อให้เกิดความคิดเห็นต่างๆแล้วนำมาวิเคราะห์ร่วมกันว่าควรรับเข้าทำงานหรือไม่เป็นข้อดีของการสัมภาษณ์แบบนี้แต่ข้อเสียก็มีคือความกดดันที่เพิ่มมากขึ้นเมื่อเราถูกหลายๆคำถามในเวลาเดียวกันทำให้บางคนถึงกับตอบคำถามไม่ถูกและทำให้ไม่ถูกเลือกรับเข้าทำงานก็มี
การสัมภาษณ์งานแบบสามต่อกลุ่มหรือมากกว่านั้น
มักใช้กับการสัมภาษณ์งานที่รับคนในจำนวนมากโดยเรียกผู้สมัครเข้ามาในวันเดียวกันและจัดกลุ่มเพื่อเรียกสัมภาษณ์การสัมภาษณ์แบบมีทำให้มีความประหม่าน้อยลงแต่การแข่งขันจะสูงมากยิ่งขึ้นเพราะเราต้องแสดงความสามารถให้โดดเด่นที่สุดส่วนใหญ่แล้วการสัมภาษณ์แบบนี้จะเป็นการคัดพนักงานเข้าประจำสาขาต่างๆว่าเหมาะสมกับลักษณะงานประเภทไหนมากกว่าการคัดผู้สมัครออก
ไม่ว่าเราจะกลัวประหม่าหรือสั่นแค่ไหนเพียงแค่เรามีความเป็นตัวของตัวเองและมีสติตั้งใจตอบคำถามที่ผู้สัมภาษณ์ถามไม่พูดนอกประเด็นก็จะทำให้เราได้รับเลือกเข้าเป็นหนึ่งในพนักงานอย่างแน่นอนความกลัวเกิดขึ้นได้กับทุกคนเราต้องหมั่นฝึกฝนเอาชนะความกลัวนั้นๆเพื่อให้เราเข้มแข็งและสามารถยืนหยัดสู้สิ่งต่างๆที่ผ่านเข้ามาในชีวิตได้จงอย่ากลัวที่จะทำอะไรใหม่ๆเพราะนั้นจะทำให้แข็งแกร่งมากขึ้น
เมื่อเรารู้สึกว่าเรากลัวหรือประหม่าให้เรานึกย้อนกลับไปว่าก่อนที่เราจะถึงด่านสุดท้ายคือการสัมภาษณ์งานนั้นเราผ่านอะไรมาบ้างเรียนมาหนักแค่ไหนกว่าจะจบและต้องตะเวนหางานส่งใบสมัครงานไม่รู้กี่ร้อยใบจนถูกเรียกมาสัมภาษณ์เราจะยอมแพ้หรือเหลือเพียงแค่ด่านสุดท้ายคือการสัมภาษณ์งานเท่านั้นเองเราต้องสู้ต้องพยายามสิ่งไหนที่เรากลัวขจัดมันออกไปให้หมดเหลือแต่ความกล้าและความมุ่งมั่นเท่านั้นการสัมภาษณ์งานนั้นมีอยู่หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับว่าตำแหน่งงานนั้นมีความสำคัญมากเพียงใดเราต้องเอาชนะและผ่านการสัมภาษณ์งานนี้ไปให้ได้ไม่ว่าจะยากสักเพียงใดแต่คงไม่ยากเกินความพยายามของเรา
การสัมภาษณ์งานแบบหนึ่งต่อหนึ่ง
ผู้สัมภาษณ์1คนกับผู้ถูกสัมภาษณ์อีก1คนเป็นการสัมภาษณ์ที่นิยมอย่างมากกับงานในตำแหน่งเริ่มต้นซึ่งความน่ากลัวมีไม่มากเท่าไหร่ถ้าเราสามารถคุมสถานการณ์ได้เราก็ผ่านได้อย่างง่ายดายแต่ข้อเสียของการสัมภาษณ์แบบนี้คือมีผู้สัมภาษณ์หรือผู้ตัดสินว่าเราได้รับเลือกเข้าทำงานหรือไม่เพียงคนเดียวถ้าเกิดเขาไม่ชอบคำตอบของเราหรือมีอคติกับเราเราก็หมดโอกาสแทบจะในทันทีเพราะไม่มีใครมาเเย้งเพราะมีผู้ตัดสินเพียงคนเดียว
การสัมภาษณ์งานแบบสองต่อหนึ่งหรือสามต่อหนึ่ง
ผู้สัมภาษณ์1คนกับผู้ถูกสัมภาษณ์อีก2คนหรือ3คนเป็นการสัมภาษณ์งานในตำแหน่งที่มีการแข่งขันสูงขึ้นมาอีกเพราะว่าบริษัทจะเรียกผู้สมัครสองหรือสามคนมาพร้อมกันและตั้งคำถามเพื่อดูทัศนคติและการแก้ปัญหาเพื่อหาคนที่เหมาะสมที่สุดหรือจะเป็นผู้สัมภาษณ์2คนหรือ3คนกับผู้ถูกสัมภาษณ์อีก1คนเพื่อให้เกิดความคิดเห็นต่างๆแล้วนำมาวิเคราะห์ร่วมกันว่าควรรับเข้าทำงานหรือไม่เป็นข้อดีของการสัมภาษณ์แบบนี้แต่ข้อเสียก็มีคือความกดดันที่เพิ่มมากขึ้นเมื่อเราถูกหลายๆคำถามในเวลาเดียวกันทำให้บางคนถึงกับตอบคำถามไม่ถูกและทำให้ไม่ถูกเลือกรับเข้าทำงานก็มี
การสัมภาษณ์งานแบบสามต่อกลุ่มหรือมากกว่านั้น
มักใช้กับการสัมภาษณ์งานที่รับคนในจำนวนมากโดยเรียกผู้สมัครเข้ามาในวันเดียวกันและจัดกลุ่มเพื่อเรียกสัมภาษณ์การสัมภาษณ์แบบมีทำให้มีความประหม่าน้อยลงแต่การแข่งขันจะสูงมากยิ่งขึ้นเพราะเราต้องแสดงความสามารถให้โดดเด่นที่สุดส่วนใหญ่แล้วการสัมภาษณ์แบบนี้จะเป็นการคัดพนักงานเข้าประจำสาขาต่างๆว่าเหมาะสมกับลักษณะงานประเภทไหนมากกว่าการคัดผู้สมัครออก
ไม่ว่าเราจะกลัวประหม่าหรือสั่นแค่ไหนเพียงแค่เรามีความเป็นตัวของตัวเองและมีสติตั้งใจตอบคำถามที่ผู้สัมภาษณ์ถามไม่พูดนอกประเด็นก็จะทำให้เราได้รับเลือกเข้าเป็นหนึ่งในพนักงานอย่างแน่นอนความกลัวเกิดขึ้นได้กับทุกคนเราต้องหมั่นฝึกฝนเอาชนะความกลัวนั้นๆเพื่อให้เราเข้มแข็งและสามารถยืนหยัดสู้สิ่งต่างๆที่ผ่านเข้ามาในชีวิตได้จงอย่ากลัวที่จะทำอะไรใหม่ๆเพราะนั้นจะทำให้แข็งแกร่งมากขึ้น
เตรียมตัวให้พร้อมสำหรับการสัมภาษณ์งาน
สิ่งที่เราจำเป็นต้องทราบเป็นสิ่งแรกสำหรับการสัมภาษณ์งานเลยคือตำแหน่งงานที่เราสมัครงานวันเวลาที่ตั้งของบริษัทที่เราสมัครงานไว้และก่อนไปสัมภาษณ์งานเราควรติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่ว่าต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้างเพราะบางทีบริษัทต้องการเอกสารบางอย่างจากเราซึ่งถ้าเราไม่มีให้ก็อาจจะทำบริษัทมองว่าเราไม่เตรียมพร้อมที่จะสัมภาษณ์งานเพราะฉะนั้นก่อนที่จะไปสัมภาษณ์งานต้องเตรียมเอกสารต่างๆไปสำรองเสมอการสมัครงานผ่านทางอินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่แล้วต้องเตรียมเอกสารไปให้ทั้งหมดเพราะบริษัทจะได้รับแค่resumeของเราเท่านั้นสำหรับคนที่ส่งเป็นจดหมายไปในการสมัครงานอาจจะไม่ต้องเตรียมเอกสารอะไรเพิ่มเติมยกเว้นแต่ว่าบริษัทต้องการเอกสารอะไรเพิ่มเติมซึ่งเจ้าหน้าที่ต้องชี้แจ้งเราก่อนที่เราจะถูกเรียกไปสัมภาษณ์งานเช่นเอกสารเกี่ยวกับงานที่เคยทำงานก่อนรูปถ่ายและก่อนที่เราจะไปสัมภาษณ์งานเราต้องสอบถามบริษัทด้วยว่ามีการทดสอบอะไรเพิ่มเติมหรือไม่เพื่อให้เราได้เตรียมตัวก่อนเริ่มสัมภาษณ์งานบางครั้งบริษัทก็ไม่ได้แจ้งให้เราทราบเราจึงจำเป็นต้องสอบถามด้วยตัวเองเช่นเราไปสมัครงานเป็นวิศวกรบริษัทอาจจะมีการทดสอบที่วัดความรู้การคำนวณเราก็ต้องเตรียมตัวให้พร้อมการทดสอบไม่ใช่การทดสอบแบบยากเย็นแต่เป้นการทดสอบแบบพื้นฐานในเรื่องที่ควรรู้เป็นต้นคุณควรถามให้ละเอียดเพื่อให้เราพร้อมกับการทดสอบนั้นๆอาจจะมีการทดสอบที่เราไม่ถนัดเราจึงจำเป็นต้องทราบก่อนว่ามีการทดสอบอะไรบ้าง
การที่เรากล้าสอบทราบข้อมูลไม่ใช่เรื่องแปลกเพราะว่าถ้าเราทราบแล้วบริษัทสามารถบอกได้ก็จะกลายเป็นว่าเราได้เปรียบคนอื่นที่มาสัมภาษณ์แต่บางทีบริษัทก็ปกปิดข้อมูลเป็นความลับเพื่อให้การทดสอบมีความเท่าเทียมกันแต่ถ้าเรากล้าถามก็ไม่ได้มีผลเสียอะไรแถมยังได้ประโยชน์อีกด้วยถ้าบริษัทบอกข้อมูลนั้นแก่เราอีกเรื่องหนึ่งที่สำคัญคือเราต้องรู้รายละเอียดของงานที่เราสมัครไปในระดับหนึ่งบริษัทไม่ได้คาดหวังให้เรารู้รายละเอียดทั้งหมดแค่ให้เราบอกว่าเรารู้หรือเปล่าว่างานนี้เกี่ยวข้องกับอะไรและต้องทำอะไรบ้างซึ่งเป็นเรื่องไม่ยากจนเกินไปเราอาจจะหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาก่อนที่จะสัมภาษณ์งานรวมทั้งเราต้องรู้ข้อมูลที่สำคัญของบริษัทบางส่วนด้วยเช่นบริษัทมีชื่อเสียงในเรื่องอะไรมีผลงานอะไรบ้างที่โดดเด่นยิ่งถ้าเป็นบริษัทใหญ่ๆเรื่องพวกนี้สามารถค้นหาได้จากอินเทอร์เน็ตโดยไม่ต้องพยายามอะไรมากมายไม่เหมือนกับบริษัทเล็กๆเพราะการหาข้อมูลของบริษัทนั้นจะยากมากถ้าไม่เข้าไปสอบถามกับบริษัทโดยตรงเพราะบริษัทเหล่านี้ไม่ค่อยมีชื่อเสียงจึงไม่ปรากฏชื่อบริษัทในอินเทอร์เน็ตมากเท่าไรเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากที่เราซึ่งจะเป็นหนึ่งในพนักงานของบริษัทต้องรู้เรื่องราวต่างๆขอบริษัทพอที่จะเล่าให้คนอื่นฟังได้เมื่อมีการสอบถามเราซึ่งบางครั้งสิ่งเหล่านี้ทำให้บริษัทเรามีชื่อเสียงมากขึ้นเพราะคนที่เราเล่าให้ฟังเกี่ยวกับบริษัทของเราเขาก็สามารถนำไปเล่าต่อกับคนอื่นๆได้อีกมากมายเป็นการบอกปากต่อปากนั้นเองข้อมูลต่างๆของบริษัทเราสามารถหาได้จากอินเทอร์เน็ตซึ่งมีดังนี้
หาข้อมูลบริษัทจากอินเทอร์เน็ต
1.เว็บไซต์ของบริษัท
บางบริษัทที่ต้องการติดต่อกับลูกค้าได้ง่ายๆก็จะมีการลงทุนสร้างเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อเป็นการนำเสนอตัวบริษัทว่ามีผลงานอะไรบ้างทำเกี่ยวกับอะไรบ้างรวมทั้งยังมีการบอกประวัติความเป็นมาของบริษัทยิ่งถ้าเป็นบริษัทใหญ่ๆก็จะมีเว็บไซต์ที่ใหญ่เกี่ยวทั้งข้อมูลต่างๆมากมายให้เราศึกษาอีกด้วย
2.Search Engineต่างๆ
จะเป็นการพิมพ์ชื่อบริษัทลงไปถ้าบริษัทนั้นมีผลงานหรือกิจกรรมอะไรก็จะแสดงผลขึ้นมาทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าบริษัทมีการสร้างผลงานไว้มากน้อยแค่ไหนอีกทั้งยังมีการโฆษณาเพื่อให้บริษัทเป็นที่สนใจโดยยกความสำเร็จของบริษัทขึ้นมาเป็นจุดในการโฆษณาอีกด้วย
การที่เรากล้าสอบทราบข้อมูลไม่ใช่เรื่องแปลกเพราะว่าถ้าเราทราบแล้วบริษัทสามารถบอกได้ก็จะกลายเป็นว่าเราได้เปรียบคนอื่นที่มาสัมภาษณ์แต่บางทีบริษัทก็ปกปิดข้อมูลเป็นความลับเพื่อให้การทดสอบมีความเท่าเทียมกันแต่ถ้าเรากล้าถามก็ไม่ได้มีผลเสียอะไรแถมยังได้ประโยชน์อีกด้วยถ้าบริษัทบอกข้อมูลนั้นแก่เราอีกเรื่องหนึ่งที่สำคัญคือเราต้องรู้รายละเอียดของงานที่เราสมัครไปในระดับหนึ่งบริษัทไม่ได้คาดหวังให้เรารู้รายละเอียดทั้งหมดแค่ให้เราบอกว่าเรารู้หรือเปล่าว่างานนี้เกี่ยวข้องกับอะไรและต้องทำอะไรบ้างซึ่งเป็นเรื่องไม่ยากจนเกินไปเราอาจจะหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาก่อนที่จะสัมภาษณ์งานรวมทั้งเราต้องรู้ข้อมูลที่สำคัญของบริษัทบางส่วนด้วยเช่นบริษัทมีชื่อเสียงในเรื่องอะไรมีผลงานอะไรบ้างที่โดดเด่นยิ่งถ้าเป็นบริษัทใหญ่ๆเรื่องพวกนี้สามารถค้นหาได้จากอินเทอร์เน็ตโดยไม่ต้องพยายามอะไรมากมายไม่เหมือนกับบริษัทเล็กๆเพราะการหาข้อมูลของบริษัทนั้นจะยากมากถ้าไม่เข้าไปสอบถามกับบริษัทโดยตรงเพราะบริษัทเหล่านี้ไม่ค่อยมีชื่อเสียงจึงไม่ปรากฏชื่อบริษัทในอินเทอร์เน็ตมากเท่าไรเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากที่เราซึ่งจะเป็นหนึ่งในพนักงานของบริษัทต้องรู้เรื่องราวต่างๆขอบริษัทพอที่จะเล่าให้คนอื่นฟังได้เมื่อมีการสอบถามเราซึ่งบางครั้งสิ่งเหล่านี้ทำให้บริษัทเรามีชื่อเสียงมากขึ้นเพราะคนที่เราเล่าให้ฟังเกี่ยวกับบริษัทของเราเขาก็สามารถนำไปเล่าต่อกับคนอื่นๆได้อีกมากมายเป็นการบอกปากต่อปากนั้นเองข้อมูลต่างๆของบริษัทเราสามารถหาได้จากอินเทอร์เน็ตซึ่งมีดังนี้
หาข้อมูลบริษัทจากอินเทอร์เน็ต
1.เว็บไซต์ของบริษัท
บางบริษัทที่ต้องการติดต่อกับลูกค้าได้ง่ายๆก็จะมีการลงทุนสร้างเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อเป็นการนำเสนอตัวบริษัทว่ามีผลงานอะไรบ้างทำเกี่ยวกับอะไรบ้างรวมทั้งยังมีการบอกประวัติความเป็นมาของบริษัทยิ่งถ้าเป็นบริษัทใหญ่ๆก็จะมีเว็บไซต์ที่ใหญ่เกี่ยวทั้งข้อมูลต่างๆมากมายให้เราศึกษาอีกด้วย
2.Search Engineต่างๆ
จะเป็นการพิมพ์ชื่อบริษัทลงไปถ้าบริษัทนั้นมีผลงานหรือกิจกรรมอะไรก็จะแสดงผลขึ้นมาทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าบริษัทมีการสร้างผลงานไว้มากน้อยแค่ไหนอีกทั้งยังมีการโฆษณาเพื่อให้บริษัทเป็นที่สนใจโดยยกความสำเร็จของบริษัทขึ้นมาเป็นจุดในการโฆษณาอีกด้วย
เรียกเงินเดือนเท่าไหร่จึงจะเหมาะสม
คำถามนี้ถูกถามบ่อยโดยนักศึกษาจบใหม่ที่กำลังหางานทำซึ่งไม่ใช่เรื่องแปลกเพราะว่าเรายังไม่เคยทำงานมาก่อนก็คงไม่ทราบเกี่ยวกับการเรียกเงินเดือนว่าควรเท่าไหร่จึงจะเหมาะสมแต่บางคนก็ได้ยินฐานเงินเดือนมาจากญาติพี่น้องหรือเพื่อนที่ทำงานอยู่หรือบริษัทที่เข้ามาในมหาวิทยาลัยรวมทั้งการหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถของเราด้วยว่ามีความสามารถมากแค่ไหนที่เหมาะสมกับเงินเดือนที่เราเรียกไปถ้าเราสามารถทำอะไรได้หลายๆอย่างการเรียกเงินเดือนสูงก็ไม่ใช่เรื่องยาก
เรารู้กันอยู่แล้วว่าสายที่เราจบมาน่าจะได้เงินเดือนประมาณเท่าไรเพราะในแต่ละสายก็จะมีการพูดถึงเรื่องเงินเดือนของสายนั้นๆไว้เสมอจากทั้งรุ่นพี่ี่จบคณะวิศวกรรมศาสตร์ไปทำงานเป็นวิศวกรโยธาเงินเดือนเริ่มต้น30000.-ส่วนรุ่นพี่อีกคนจบจากคณะบัญชีไปทำงานเป็นพนักงานธนาคารเงินเดือนเริ่มต้น20000.-ซึ่งเห็นได้ว่าแต่สายอาชีพนั้นจะมีฐานเงินเดือนเริ่มต้นที่ต่างกันแต่ก็ใช่ว่าจะเป็นแบบนี้เสมอไปถ้าเราสามารถพูดภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆได้เราก็อาจจะถูกส่งไปทำงานต่างประเทศซึ่งจะเพิ่มเงินเดือนให้เราสูงมาอีกทั้งยังได้เดินทางไปต่างประเทศฟรีอีกด้วยจะเห็นได้ว่าแม้เราจบจากสายที่ฐานเงินเดือนไม่สูงมากแต่ถ้าเรามีความขยันและมีความสามารถเพิ่มเติมเราสามารถเพิ่มเงินเดือนให้ตัวเองได้ง่ายๆ
ข้อมูลข้างต้นเป็นเพียงกรอบของอัตราจ้างที่จะทำให้เราได้เห็นภาพรวมของฐานเงินเดือนว่าเป็นเช่นไรเพื่อให้คุณได้พอมองเห็นตัวเลขที่เราควรจะได้รับถ้าเราทำงานในตำแหน่งเหล่านั้นแต่อย่าลืมว่าเงินเดือนไม่ได้ขึ้นอยู่กับสายที่จบมาอย่างเดียวยังขึ้นอยู่กับความสามารถของเราอีกด้วยซึ่งทำให้เงินเดือนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ธุรกิจที่สามารถทำให้เงินเดือนเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับประเภทของบริษัทที่เราทำงานตลาดเป็นเช่นไรเศรษฐกิจณตอนนั้นเป็นอย่างไรโดยรวมถึงความสามารถของเราว่ามีมากแค่ไหนที่บริษัทนั้นจะยอมจ่ายเพื่อให้ได้ตัวเรามาร่วมงานและยังมีเหตุผลอีกมากมายหลากหลายอย่างที่ทำให้เงินเดือนเปลี่ยนแปลงไปมาได้
ยกตัวอย่างมีเพื่อน2คนจบมาจากมหาลัยเดียวกันคณะเดียวกันเกรดเฉลี่ยไม่ต่างกันมากได้ทำงานเป็นวิศวกรเหมือนกันแต่คนละบริษัทคนหนึ่งได้เงินเดือน15000ส่วนอีกคนได้เงินเดือน30000ไม่ใช่เรื่องน่าตกใจอะไรเพราะคนหนึ่งทำงานในบริษัทเล็กและเป็นบริษัทของคนไทยส่วนอีกคนทำงานในบริษัทใหญ่อีกทั้งยังเป็นบริษัทของต่างชาติถ้าถามว่าทำไมคนที่ทำงานในบริษัทเล็กถึงไปทำงานในบริษัทใหญ่ที่เป็นของต่างชาติเหตุผลมันง่ายมากๆเพราะไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้นั้นเองทำให้เกิดความกลัวว่าจะทำงานไม่ได้จึงสมัครงานในบริษัทของคนไทยซึ่งจะเห็นได้ว่าเพียงแค่สามารถสื่อสารหรือไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ก็มีผลต่อเงินเดือนที่ได้รับเพราะฉะนั้นจงอย่าลืมหมั่นฝึกฝนความสามารถเพิ่มเติมเพราะความรู้มีให้เรียนรู้อยู่เสมออยู่ที่ว่าเราจะตั้งใจกับมันไหมเท่านั้นเอง
อีกเหตุผลหนึ่งที่เราควรเลือกทำงานกับบริษัทใหญ่เพราะว่าบริษัทใหญ่จะมีฐานเงินเดือนที่ชัดเจนไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเงินเดือนได้มากเพราะถ้าเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อทั้งระบบซึ่งอาจจะทำให้บริษัทเจ๊งเลยก็ได้ส่วนบริษัทเล็กจะสามารถเปลี่ยนแปลงเงินเดือนได้ตามความเหมาะสมขึ้นอยู่กับสามารถคล่องของบริษัทช่วงไหนที่บริษัทกำลังขาดทุนอาจจะจำเป็นต้องลดเงินเดือนของพนักงานลงหรืออาจจะถึงต้องไล่พนักงานบางส่วนออกเพื่อคงสภาพของบริษัทต่อไปการเรียกเงินเดือนส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะเรียกตามฐานเงินเดือนของอาชีพนั้นๆไม่ต่ำหรือสูงจนเกินไปต้องอ้างอิงกับข้อมูลในปัจจุบันซึ่งบางครั้งเราต้องเลือกความมั่นคงของงานมากกว่าเงินเดือนที่ได้รับถ้าให้เลือกระหว่างได้เงินเดือนสูงแต่ทำงานได้3เดือนถูกไล่ออกกับได้เงินเดือนน้อยลงมาหน่อยแต่สามารถทำงานได้เป็นอีก10ปีๆเราก็คงต้องเลือกอย่างหลังเพราะว่าความมั่นคงของเรานั้นสำคัญกว่าการเรียกเงินเดือนขึ้นอยู่กับความต้องการของตัวเราเองว่าเราพอใจตัวเลขประมาณไหนและต้องดูความสามารถของตัวเองด้วยว่ามีความสามารถเหมาะสมกับเงินเดือนที่เรียกไปหรือไม่
เรารู้กันอยู่แล้วว่าสายที่เราจบมาน่าจะได้เงินเดือนประมาณเท่าไรเพราะในแต่ละสายก็จะมีการพูดถึงเรื่องเงินเดือนของสายนั้นๆไว้เสมอจากทั้งรุ่นพี่ี่จบคณะวิศวกรรมศาสตร์ไปทำงานเป็นวิศวกรโยธาเงินเดือนเริ่มต้น30000.-ส่วนรุ่นพี่อีกคนจบจากคณะบัญชีไปทำงานเป็นพนักงานธนาคารเงินเดือนเริ่มต้น20000.-ซึ่งเห็นได้ว่าแต่สายอาชีพนั้นจะมีฐานเงินเดือนเริ่มต้นที่ต่างกันแต่ก็ใช่ว่าจะเป็นแบบนี้เสมอไปถ้าเราสามารถพูดภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆได้เราก็อาจจะถูกส่งไปทำงานต่างประเทศซึ่งจะเพิ่มเงินเดือนให้เราสูงมาอีกทั้งยังได้เดินทางไปต่างประเทศฟรีอีกด้วยจะเห็นได้ว่าแม้เราจบจากสายที่ฐานเงินเดือนไม่สูงมากแต่ถ้าเรามีความขยันและมีความสามารถเพิ่มเติมเราสามารถเพิ่มเงินเดือนให้ตัวเองได้ง่ายๆ
ข้อมูลข้างต้นเป็นเพียงกรอบของอัตราจ้างที่จะทำให้เราได้เห็นภาพรวมของฐานเงินเดือนว่าเป็นเช่นไรเพื่อให้คุณได้พอมองเห็นตัวเลขที่เราควรจะได้รับถ้าเราทำงานในตำแหน่งเหล่านั้นแต่อย่าลืมว่าเงินเดือนไม่ได้ขึ้นอยู่กับสายที่จบมาอย่างเดียวยังขึ้นอยู่กับความสามารถของเราอีกด้วยซึ่งทำให้เงินเดือนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ธุรกิจที่สามารถทำให้เงินเดือนเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับประเภทของบริษัทที่เราทำงานตลาดเป็นเช่นไรเศรษฐกิจณตอนนั้นเป็นอย่างไรโดยรวมถึงความสามารถของเราว่ามีมากแค่ไหนที่บริษัทนั้นจะยอมจ่ายเพื่อให้ได้ตัวเรามาร่วมงานและยังมีเหตุผลอีกมากมายหลากหลายอย่างที่ทำให้เงินเดือนเปลี่ยนแปลงไปมาได้
ยกตัวอย่างมีเพื่อน2คนจบมาจากมหาลัยเดียวกันคณะเดียวกันเกรดเฉลี่ยไม่ต่างกันมากได้ทำงานเป็นวิศวกรเหมือนกันแต่คนละบริษัทคนหนึ่งได้เงินเดือน15000ส่วนอีกคนได้เงินเดือน30000ไม่ใช่เรื่องน่าตกใจอะไรเพราะคนหนึ่งทำงานในบริษัทเล็กและเป็นบริษัทของคนไทยส่วนอีกคนทำงานในบริษัทใหญ่อีกทั้งยังเป็นบริษัทของต่างชาติถ้าถามว่าทำไมคนที่ทำงานในบริษัทเล็กถึงไปทำงานในบริษัทใหญ่ที่เป็นของต่างชาติเหตุผลมันง่ายมากๆเพราะไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้นั้นเองทำให้เกิดความกลัวว่าจะทำงานไม่ได้จึงสมัครงานในบริษัทของคนไทยซึ่งจะเห็นได้ว่าเพียงแค่สามารถสื่อสารหรือไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ก็มีผลต่อเงินเดือนที่ได้รับเพราะฉะนั้นจงอย่าลืมหมั่นฝึกฝนความสามารถเพิ่มเติมเพราะความรู้มีให้เรียนรู้อยู่เสมออยู่ที่ว่าเราจะตั้งใจกับมันไหมเท่านั้นเอง
อีกเหตุผลหนึ่งที่เราควรเลือกทำงานกับบริษัทใหญ่เพราะว่าบริษัทใหญ่จะมีฐานเงินเดือนที่ชัดเจนไม่สามารถเปลี่ยนแปลงเงินเดือนได้มากเพราะถ้าเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อทั้งระบบซึ่งอาจจะทำให้บริษัทเจ๊งเลยก็ได้ส่วนบริษัทเล็กจะสามารถเปลี่ยนแปลงเงินเดือนได้ตามความเหมาะสมขึ้นอยู่กับสามารถคล่องของบริษัทช่วงไหนที่บริษัทกำลังขาดทุนอาจจะจำเป็นต้องลดเงินเดือนของพนักงานลงหรืออาจจะถึงต้องไล่พนักงานบางส่วนออกเพื่อคงสภาพของบริษัทต่อไปการเรียกเงินเดือนส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะเรียกตามฐานเงินเดือนของอาชีพนั้นๆไม่ต่ำหรือสูงจนเกินไปต้องอ้างอิงกับข้อมูลในปัจจุบันซึ่งบางครั้งเราต้องเลือกความมั่นคงของงานมากกว่าเงินเดือนที่ได้รับถ้าให้เลือกระหว่างได้เงินเดือนสูงแต่ทำงานได้3เดือนถูกไล่ออกกับได้เงินเดือนน้อยลงมาหน่อยแต่สามารถทำงานได้เป็นอีก10ปีๆเราก็คงต้องเลือกอย่างหลังเพราะว่าความมั่นคงของเรานั้นสำคัญกว่าการเรียกเงินเดือนขึ้นอยู่กับความต้องการของตัวเราเองว่าเราพอใจตัวเลขประมาณไหนและต้องดูความสามารถของตัวเองด้วยว่ามีความสามารถเหมาะสมกับเงินเดือนที่เรียกไปหรือไม่
ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นตัวช่วยในการหางาน
การสมัครงานทางอินเทอร์เน็ตเป็นที่นิยมอย่างมากในปัจจุบันและดูท่าว่าจะเป็นที่นิยมไปอีกนานเพราะทั้งผู้สมัครงานและบริษัทต่างให้การยอมรับว่าเป็นวิธีที่สะดวกทั้งสองฝ่ายซึ่งทำให้บริษัทไม่ต้องไปลงทุนเปิดบูธหรือลงโฆษณาตามหนังสือพิมพ์หรือโทรทัศน์ที่มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าการลงโฆษณาทางอินเทอร์เน็ตอย่างมากและผู้สมัครก็ได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งไม่ต้องไปสมัครงานที่บริษัทโดยตรงซึ่งทั้งเสียเวลาและค่าเดินทางการสมัครงานทางอินเทอร์เน็ตมีอยู่3แบบดังนี้
1.สมัครผ่านทางเว็บไซต์ลงประกาศรับสมัครงาน
เป็นช่องทางที่บริษัทนิยมอย่างมากเพราะว่าจะทำให้ได้คนทำงานได้เร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทที่ต้องการคนมาทำงานในตำแหน่งที่เจาะจงสามารถลงประกาศแบบพิเศษเพื่อให้ตำแหน่งนั้นเป็นสนใจทางผู้สมัครไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆเลยในการสมัครงานแบบนี้อีกทั้งยังสามารถเลือกสมัครงานได้หลายๆบริษัทหลายๆตำแหน่งขึ้นอยู่ว่าเรามีความสามารถเพียงพอเท่านั้นเอง
2.สมัครงานผ่านทางอีเมล์
ตามการลงประกาศรับสมัครงานของบริษัทจะมีอีเมล์ให้ส่งใบสมัครงานซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ที่บริษัทนั้นๆระบุไว้ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายสำหรับผู้สมัครอย่างมากเพราะในอดีตผู้สมัครต้องเดินทางไปส่งใบสมัครด้วยตัวเองหรือต้องส่งทางไปรณีย์ซึ่งมีค่าใช้แต่การส่งใบสมัครทางอีเมล์นั้นไม่มีค่าจ่ายใดๆ
3.สมัครผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท
บางบริษัทจะลงทุนเปิดเว็บไซต์เป็นของตัวเองเพื่อให้ลูกค้าและผู้ที่สนใจมาร่วมงานสามารถติดต่อกับบริษัทได้ง่ายซึ่งบางครั้งเราสามารถสมัครงานผ่านระบบที่เว็บไซต์มีให้ได้เลยทันทีซึ่งเป็นเรื่องมากๆเพราะเราสามารถเป็นลูกค้าของบริษัทนั้นและยังสามารถเป็นผู้ร่วมงานได้ในตัวซึ่งถ้าสนใจเราก็แค่กรอกข้อมูลส่วนตัวและรอเรียกไปสัมภาษณ์เท่านั้นเอง
จะเห็นได้ว่าการสมัครงานทางอินเทอร์เน็ตนั้นช่วยให้การสมัครงานนั้นเป็นเรื่องที่ง่ายมากยิ่งขึ้นและเรายังสามารถสมัครงานกับหลายๆบริษัทโดยใช้เวลาไม่นานทำให้เรามีโอกาสที่จะได้รับเลือกถูกเรียกเข้าไปสัมภาษณ์งานได้มากกว่าการสมัครงานทีละบริษัทและเมื่อผิดหวังเราก็ต้องมานั่งหาบริษัทใหม่อีก
1.สมัครผ่านทางเว็บไซต์ลงประกาศรับสมัครงาน
เป็นช่องทางที่บริษัทนิยมอย่างมากเพราะว่าจะทำให้ได้คนทำงานได้เร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทที่ต้องการคนมาทำงานในตำแหน่งที่เจาะจงสามารถลงประกาศแบบพิเศษเพื่อให้ตำแหน่งนั้นเป็นสนใจทางผู้สมัครไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆเลยในการสมัครงานแบบนี้อีกทั้งยังสามารถเลือกสมัครงานได้หลายๆบริษัทหลายๆตำแหน่งขึ้นอยู่ว่าเรามีความสามารถเพียงพอเท่านั้นเอง
2.สมัครงานผ่านทางอีเมล์
ตามการลงประกาศรับสมัครงานของบริษัทจะมีอีเมล์ให้ส่งใบสมัครงานซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ที่บริษัทนั้นๆระบุไว้ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายสำหรับผู้สมัครอย่างมากเพราะในอดีตผู้สมัครต้องเดินทางไปส่งใบสมัครด้วยตัวเองหรือต้องส่งทางไปรณีย์ซึ่งมีค่าใช้แต่การส่งใบสมัครทางอีเมล์นั้นไม่มีค่าจ่ายใดๆ
3.สมัครผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท
บางบริษัทจะลงทุนเปิดเว็บไซต์เป็นของตัวเองเพื่อให้ลูกค้าและผู้ที่สนใจมาร่วมงานสามารถติดต่อกับบริษัทได้ง่ายซึ่งบางครั้งเราสามารถสมัครงานผ่านระบบที่เว็บไซต์มีให้ได้เลยทันทีซึ่งเป็นเรื่องมากๆเพราะเราสามารถเป็นลูกค้าของบริษัทนั้นและยังสามารถเป็นผู้ร่วมงานได้ในตัวซึ่งถ้าสนใจเราก็แค่กรอกข้อมูลส่วนตัวและรอเรียกไปสัมภาษณ์เท่านั้นเอง
จะเห็นได้ว่าการสมัครงานทางอินเทอร์เน็ตนั้นช่วยให้การสมัครงานนั้นเป็นเรื่องที่ง่ายมากยิ่งขึ้นและเรายังสามารถสมัครงานกับหลายๆบริษัทโดยใช้เวลาไม่นานทำให้เรามีโอกาสที่จะได้รับเลือกถูกเรียกเข้าไปสัมภาษณ์งานได้มากกว่าการสมัครงานทีละบริษัทและเมื่อผิดหวังเราก็ต้องมานั่งหาบริษัทใหม่อีก
การสมัครงานด้วยตัวเองที่บริษัท(Walk in)
การหางานในลักษณะนี้เกิดขึ้นหลังจากการสมัครงานผ่านการส่งจดหมายางไปรณีย์แม้ในปัจจุบันก็ยังเป็นที่นิยมแต่อาจจะนิยมน้อยลงเพราะมีการสมัครงานช่องทางที่สะดวกขึ้นกว่านี้มากสงสัยไหมว่าทำไมการสมัครงานแบบเข้าไปสมัครงานด้วยตัวเองที่บริษัทหรือWalk inจึงเป็นที่นิยมอย่างมากเพราะคิดๆดูแล้วการสมัครงานวิธีนี้ทำให้เสียเวลาและค่าเดินทางไม่น้อยอีกทั้งยังต้องรอคิวอีกคงหงุดหงิดน่าดู
ผู้สมัครงานที่โทรเข้ามาในบริษัทส่วนใหญ่แล้วจะสอบถามเส้นทางมาที่บริษัทฝ่ายHRก็จะบอกว่าให้ส่งใบสมัครงานมาทางอีเมล์จะสะดวกกว่าไม่จำเป็นต้องเสียค่าเดินทางมาที่บริษัทเพราะเป็นแค่การส่งใบสมัครแต่ผู้สมัครงานก็ไม่ยอมจะมาที่บริษัทให้ได้ทำให้ฝ่ายHRหลายต่อหลายคนต้องล้มเลิกความตั้งใจลงไปเพราะว่าไม่มีผู้สมัครคนใดเชื่อว่าการส่งใบสมัครมาทางอีเมล์นั้นดีกว่าเดินมาที่บริษัทโดยตรงด้วยความสงสัยของฝ่ายHRว่าทำไมไม่มีผู้สมัครคนใดเชื่อตามที่ตนบอกดังนั้นเมื่อฝ่ายHRได้รับโทรศัพท์จากผู้สมัครงานคนหนึ่งที่ยืนยันจะมาสมัครงายที่บริษัทโดยตรงจึงได้คำตอบว่าผู้ที่มาสมัครงานโดยตรงกับบริษัทมีโอกาสได้รับเลือกเข้ามาสัมภาษณ์ในวันที่มาสมัครเลยถ้าผู้สัมภาษณ์พร้อมและคิดว่าการมาสมัครงานที่บริษัทนั้นเร็วกว่าการสมัครงานผ่านอินเทอร์เน็ตหรือส่งอีเมล์หรือส่งไปรณีย์อย่างแน่นอนดังนั้นโอกาสในการถูกเรียกเข้ามาสัมภาษณ์งานจึงมากกว่า
เหตุผลข้างต้นนั้นอาจจะฟังดูดีแต่ถ้าเราต้องสมัครงานกับหลายๆบริษัทเราต้องไปทุกบริษัทเลยหรือไม่มันคุ้มหรือป่าวที่เราต้องเสียค่าเดินทางเพียงเพื่อไปส่งใบสมัครและยังไม่แน่ด้วยว่าเราจะได้ถูกเรียกไปสัมภาษณ์งานในวันนั้นถ้าไม่เป็นเช่นนั้นก็คงต้องกลับบ้านโดยมาส่งแค่ใบสมัครเปล่าๆใบหนึ่งและเราก็ไม่มีทางรู้ได้เลยว่าบริษัทไหนจะรับเราเข้าทำงานมากกว่าเราจะใช้อะไรตัดสินว่าควรไปที่บริษัทหรือส่งใบสมัครทางอื่นดีเหตุผลแรกๆเลยคือโอกาสที่เราจะถูกเรียกเข้าไปสัมภาษณ์ในวันที่ไปส่งใบสมัครนั้นมีมากน้อยแค่ไหนเราต้องพิจารณาจากหลายๆปัจจัยทั้งตำแหน่งงานนั้นมีผู้สนใจมากน้อยแค่ไหนตำแหน่งงานนั้นเรามีคุณสมบัติเพียงพอหรือไม่เป็นต้นแต่โดยทั่วไปแล้วโอกาสมีน้อยมากๆที่เราส่งใบสมัครในวันนั้นแล้วจะถูกเรียกไปสัมภาษณ์ในวันเดียวกันแล้วมันคุ้มไหมกับการที่เราเสียค่าเดินทางไปเพื่อส่งใบสมัคร
แล้วเราจะทำอย่างไรดีเมื่อโอกาสนั้นน้อยมากๆเราก็ต้องหาข้อมูลว่าบริษัทนี้ต้องการรับสมัครตำแหน่งนี้เร่งด่วนหรือไม่ถ้าเร่งด่วนแล้วเรามีความสามารถและคุณสมบัติเพียงพอโอกาสที่เราจะได้รับเลือกเข้าไปสัมภาษณ์ในวันที่ส่งใบสมัครนั้นก็มีสูงทั้งนี้เราก็ต้องพิจารณาถึงปัจจัยอื่นๆด้วยเพราะในปัจจุบันบริษัทต่างๆมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการรับสมัครมากขึ้นทำให้สะดวกต่อคนสมัครงานและบริษัทเองเช่นการลงประกาศรับสมัครงานผ่านเว็บไซต์ประกาศรับสมัครงานหรือลงประกาศผ่านทางหนังสือพิมพ์เป็นต้นเห็นได้ว่ามีทางเลือกอีกมากมายเราไม่จำเป็นต้องสมัครงานแบบWalk inอย่างเดียวถ้าเรามั่นใจว่าเรามีคุณสมบัติและควาสามารถเพียงพอเราก็ไม่จำเป็นสมัครงานแบบWalk inเราอาจจะลงประวัติส่วนตัวไว้แล้วให้บริษัทต่างๆเข้ามาดูเผลอๆบริษัทจะเป็นคนเรียกตัวเราเข้าไปสัมภาษณ์โดยที่เราไม่ต้องทำอะไร
ผู้สมัครงานที่โทรเข้ามาในบริษัทส่วนใหญ่แล้วจะสอบถามเส้นทางมาที่บริษัทฝ่ายHRก็จะบอกว่าให้ส่งใบสมัครงานมาทางอีเมล์จะสะดวกกว่าไม่จำเป็นต้องเสียค่าเดินทางมาที่บริษัทเพราะเป็นแค่การส่งใบสมัครแต่ผู้สมัครงานก็ไม่ยอมจะมาที่บริษัทให้ได้ทำให้ฝ่ายHRหลายต่อหลายคนต้องล้มเลิกความตั้งใจลงไปเพราะว่าไม่มีผู้สมัครคนใดเชื่อว่าการส่งใบสมัครมาทางอีเมล์นั้นดีกว่าเดินมาที่บริษัทโดยตรงด้วยความสงสัยของฝ่ายHRว่าทำไมไม่มีผู้สมัครคนใดเชื่อตามที่ตนบอกดังนั้นเมื่อฝ่ายHRได้รับโทรศัพท์จากผู้สมัครงานคนหนึ่งที่ยืนยันจะมาสมัครงายที่บริษัทโดยตรงจึงได้คำตอบว่าผู้ที่มาสมัครงานโดยตรงกับบริษัทมีโอกาสได้รับเลือกเข้ามาสัมภาษณ์ในวันที่มาสมัครเลยถ้าผู้สัมภาษณ์พร้อมและคิดว่าการมาสมัครงานที่บริษัทนั้นเร็วกว่าการสมัครงานผ่านอินเทอร์เน็ตหรือส่งอีเมล์หรือส่งไปรณีย์อย่างแน่นอนดังนั้นโอกาสในการถูกเรียกเข้ามาสัมภาษณ์งานจึงมากกว่า
เหตุผลข้างต้นนั้นอาจจะฟังดูดีแต่ถ้าเราต้องสมัครงานกับหลายๆบริษัทเราต้องไปทุกบริษัทเลยหรือไม่มันคุ้มหรือป่าวที่เราต้องเสียค่าเดินทางเพียงเพื่อไปส่งใบสมัครและยังไม่แน่ด้วยว่าเราจะได้ถูกเรียกไปสัมภาษณ์งานในวันนั้นถ้าไม่เป็นเช่นนั้นก็คงต้องกลับบ้านโดยมาส่งแค่ใบสมัครเปล่าๆใบหนึ่งและเราก็ไม่มีทางรู้ได้เลยว่าบริษัทไหนจะรับเราเข้าทำงานมากกว่าเราจะใช้อะไรตัดสินว่าควรไปที่บริษัทหรือส่งใบสมัครทางอื่นดีเหตุผลแรกๆเลยคือโอกาสที่เราจะถูกเรียกเข้าไปสัมภาษณ์ในวันที่ไปส่งใบสมัครนั้นมีมากน้อยแค่ไหนเราต้องพิจารณาจากหลายๆปัจจัยทั้งตำแหน่งงานนั้นมีผู้สนใจมากน้อยแค่ไหนตำแหน่งงานนั้นเรามีคุณสมบัติเพียงพอหรือไม่เป็นต้นแต่โดยทั่วไปแล้วโอกาสมีน้อยมากๆที่เราส่งใบสมัครในวันนั้นแล้วจะถูกเรียกไปสัมภาษณ์ในวันเดียวกันแล้วมันคุ้มไหมกับการที่เราเสียค่าเดินทางไปเพื่อส่งใบสมัคร
แล้วเราจะทำอย่างไรดีเมื่อโอกาสนั้นน้อยมากๆเราก็ต้องหาข้อมูลว่าบริษัทนี้ต้องการรับสมัครตำแหน่งนี้เร่งด่วนหรือไม่ถ้าเร่งด่วนแล้วเรามีความสามารถและคุณสมบัติเพียงพอโอกาสที่เราจะได้รับเลือกเข้าไปสัมภาษณ์ในวันที่ส่งใบสมัครนั้นก็มีสูงทั้งนี้เราก็ต้องพิจารณาถึงปัจจัยอื่นๆด้วยเพราะในปัจจุบันบริษัทต่างๆมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการรับสมัครมากขึ้นทำให้สะดวกต่อคนสมัครงานและบริษัทเองเช่นการลงประกาศรับสมัครงานผ่านเว็บไซต์ประกาศรับสมัครงานหรือลงประกาศผ่านทางหนังสือพิมพ์เป็นต้นเห็นได้ว่ามีทางเลือกอีกมากมายเราไม่จำเป็นต้องสมัครงานแบบWalk inอย่างเดียวถ้าเรามั่นใจว่าเรามีคุณสมบัติและควาสามารถเพียงพอเราก็ไม่จำเป็นสมัครงานแบบWalk inเราอาจจะลงประวัติส่วนตัวไว้แล้วให้บริษัทต่างๆเข้ามาดูเผลอๆบริษัทจะเป็นคนเรียกตัวเราเข้าไปสัมภาษณ์โดยที่เราไม่ต้องทำอะไร
คิดไม่ออกจะสมัครงานตำแหน่งอะไรทำยังไงดี
เป็นคำถามที่เป็นที่นิยมอย่างมากสำหรับคนที่ไม่รู้ว่าตัวเหมาะสมกับงานอะไรทำให้เกิดปัญหาในการงานอย่างมากเพราะถ้าเราตัดสินผิดพลาดก็ทำให้เสียเวลาในการต้องมาหางานใหม่อีกครั้งทางที่ดีเราต้องรู้ตัวเองตั้งแต่ตอนเรียนว่าตัวเองชอบอะไรอยากทำอะไรเพื่อให้เมื่อเราเรียนจบจะทำให้เราตัดสินใจในการหางานได้ง่ายส่วนใหญ่จะเรียนตามเพื่อนหรือพ่อแม่บังคับทำให้เมื่อต้องออกมาทำงานจริงๆกลับไม่ชอบงานที่ทำและทำได้ไม่ดีอีกด้วยทำให้เสียเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์
สำหรับในปัจจุบันแม้ว่าเรายังไม่รู้ว่าเราเหมาะสมกับงานประเภทไหนแต่เราก็ยังมีทางออกคือการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตหาข้อมูลจากหลายๆที่และนำมาประกอบการพิจารณาซึ่งจะช่วยให้เราตัดสินใจได้ว่าเราเหมาะสมกับงานประเภทไหนดีกว่านั่งอยู่เฉยๆรอโอกาสที่ไม่มีวันมาถึงออกไปหาประสบกาณ์จากคนที่ทำงานจริงๆว่าเขาทำงานกันยังไงเราอาจจะชอบงานนั้นๆก็ได้
สิ่งที่ช่วยในการตัดสินใจในการทำงานมีอยู่สองอย่างคืองานที่ใช่กับงานที่ชอบงานที่ใช่คืองานที่ตรงกับสายที่เรียนมาซึ่งเราอาจจะถูกบังคับให้มาเรียนหรือเรียนตามกระแสก็ตามแต่เราสามารถดูว่างานนั้นเป็นงานที่ใช่สำหรับได้จากประกาศของบริษัทว่าต้องการคุณสมบัติอะไรส่วนงานที่ชอบคือสิ่งที่เราชอบเป็นงานที่ตรงกับสายที่เราจบมาหรือไม่จบมาก็ได้เป็นงานที่แม้เงินเดือนไม่สูงแต่เป็นงานที่เราทำแล้วมีความสุขทำให้มีโอกาสก้าวหน้าได้มากกว่างานที่ใช่เช่นคุณจบวิศวะก็ต้องเป็นวิศวะซึ่งมีมากมายหลากหลายแขนงแต่ถ้าจบวิศวะแต่ไปทำงานบัญชีเพราะจริงๆแล้วชอบงานเกี่ยวกับบัญชีก็จะเรียกว่าทำงานที่ชอบถ้าทำงานวิศวะก็จะเรียกว่าทำงานที่ใช่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสายที่เราเรียนมาว่าใช่สิ่งที่เราชอบจริงหรือไม่
ในการสมัครงานถ้าเราสมัครงานเพราะเป็นตำแหน่งที่ใช่โอกาสที่จะได้รับเลือกเข้าทำงานจะสูงมากเพราะเรามีคุณสมบัติที่เหมาะสมแต่ถ้าเราเลือกสมัครงานในตำแหน่งที่ชอบโอกาสที่จะได้รับเลือกเข้าทำงานก็จะน้อยลงเพราะเป็นตำแหน่งที่คุณสมบัติของเราไม่ตรงตามความต้องการอาจจะทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรบริษัทจึงไม่อยากเสี่ยงจ้างคุณเข้ามาทำงานและต้องมานั่งหาคนใหม่เพราะคุณลาออกหลายๆคนค้นพบตัวเองว่าเหมาะสมกับงานอะไรได้จากการสมัครในตำแหน่งที่ใช่เพราะเมื่อเราไม่รู้ว่าเราเหมาะสมกับงานอะไรเราก็ต้องลองทำงานสักงานซึ่งบางครั้งงานนั้นอาจจะเป็นงานที่เราชอบมาตลอดแต่เราไม่รู้ตัวเท่านั้นเอง
สุดท้ายนี้อยากให้นักศึกษาที่กำลังจะเรียนจบรีบค้นหาตัวเองให้เจอว่าตัวเองเหมาะกับงานอะไรและอยากทำงานอะไรเพื่อให้สามารถสมัครงานได้ก่อนใกล้จบเพื่อให้มีโอกาสในการได้รับเลือกเข้าทำงานมากกว่าคนอื่นๆและที่สำคัญต้องเลือกงานที่คิดว่าตัวเองเข้าไปทำแล้วมีความสุขไม่กดดันเวลาทำงาน
สำหรับในปัจจุบันแม้ว่าเรายังไม่รู้ว่าเราเหมาะสมกับงานประเภทไหนแต่เราก็ยังมีทางออกคือการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตหาข้อมูลจากหลายๆที่และนำมาประกอบการพิจารณาซึ่งจะช่วยให้เราตัดสินใจได้ว่าเราเหมาะสมกับงานประเภทไหนดีกว่านั่งอยู่เฉยๆรอโอกาสที่ไม่มีวันมาถึงออกไปหาประสบกาณ์จากคนที่ทำงานจริงๆว่าเขาทำงานกันยังไงเราอาจจะชอบงานนั้นๆก็ได้
สิ่งที่ช่วยในการตัดสินใจในการทำงานมีอยู่สองอย่างคืองานที่ใช่กับงานที่ชอบงานที่ใช่คืองานที่ตรงกับสายที่เรียนมาซึ่งเราอาจจะถูกบังคับให้มาเรียนหรือเรียนตามกระแสก็ตามแต่เราสามารถดูว่างานนั้นเป็นงานที่ใช่สำหรับได้จากประกาศของบริษัทว่าต้องการคุณสมบัติอะไรส่วนงานที่ชอบคือสิ่งที่เราชอบเป็นงานที่ตรงกับสายที่เราจบมาหรือไม่จบมาก็ได้เป็นงานที่แม้เงินเดือนไม่สูงแต่เป็นงานที่เราทำแล้วมีความสุขทำให้มีโอกาสก้าวหน้าได้มากกว่างานที่ใช่เช่นคุณจบวิศวะก็ต้องเป็นวิศวะซึ่งมีมากมายหลากหลายแขนงแต่ถ้าจบวิศวะแต่ไปทำงานบัญชีเพราะจริงๆแล้วชอบงานเกี่ยวกับบัญชีก็จะเรียกว่าทำงานที่ชอบถ้าทำงานวิศวะก็จะเรียกว่าทำงานที่ใช่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสายที่เราเรียนมาว่าใช่สิ่งที่เราชอบจริงหรือไม่
ในการสมัครงานถ้าเราสมัครงานเพราะเป็นตำแหน่งที่ใช่โอกาสที่จะได้รับเลือกเข้าทำงานจะสูงมากเพราะเรามีคุณสมบัติที่เหมาะสมแต่ถ้าเราเลือกสมัครงานในตำแหน่งที่ชอบโอกาสที่จะได้รับเลือกเข้าทำงานก็จะน้อยลงเพราะเป็นตำแหน่งที่คุณสมบัติของเราไม่ตรงตามความต้องการอาจจะทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควรบริษัทจึงไม่อยากเสี่ยงจ้างคุณเข้ามาทำงานและต้องมานั่งหาคนใหม่เพราะคุณลาออกหลายๆคนค้นพบตัวเองว่าเหมาะสมกับงานอะไรได้จากการสมัครในตำแหน่งที่ใช่เพราะเมื่อเราไม่รู้ว่าเราเหมาะสมกับงานอะไรเราก็ต้องลองทำงานสักงานซึ่งบางครั้งงานนั้นอาจจะเป็นงานที่เราชอบมาตลอดแต่เราไม่รู้ตัวเท่านั้นเอง
สุดท้ายนี้อยากให้นักศึกษาที่กำลังจะเรียนจบรีบค้นหาตัวเองให้เจอว่าตัวเองเหมาะกับงานอะไรและอยากทำงานอะไรเพื่อให้สามารถสมัครงานได้ก่อนใกล้จบเพื่อให้มีโอกาสในการได้รับเลือกเข้าทำงานมากกว่าคนอื่นๆและที่สำคัญต้องเลือกงานที่คิดว่าตัวเองเข้าไปทำแล้วมีความสุขไม่กดดันเวลาทำงาน
เตรียมเอกสารให้พร้อมก่อนไปงานนัดพบแรงงาน
การเตรียมตัวที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งสำหรับวันนัดพบแรงงานสำหรับคนหางานนั้นก็คือการเตรียมเอกสารประกอบการรับสมัครงานแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อยๆก็จริงแต่ก็เป็นสิ่งสำคัญที่สุดเพราะถ้าเราไม่มีเอกสารที่จะใช้ประกอบการรับสมัครงานแล้วเราก็ไม่สามารถสมัครงานได้อย่างแน่นอนออย่างที่เราบอกไปในบทความที่ผ่านมาว่าบริษัทที่มาออกงานนั้นมีอยู่มากแล้วเราก็คงจำไม่ได้ว่าแต่ละบริษัทที่เราต้องส่งใบสมัครนั้นต้องการเอกสารอะไรบ้างมากน้อยแค่ไหนเพราะฉะนั้นเราต้องเตรียมเอกสารให้มากเพียงพอทั้งรูปถ่ายหลักฐานการศึกษาสำเนาบัตรประชาชนสำเนาทะเบียนบ้านและที่สำคัญที่สุดคือประวัติส่วนตัว
ประวัติย่อหรือResumeเป็นสิ่งที่เราจำเป็นต้องทำเพื่อให้ยื่นให้บริษัทประกอบการพิจารณาเพราะบริษัทส่วนใหญ่ต้องการโดยเฉพาะบริษัทใหญ่ๆถึงแม้ว่าจะไม่มีการประกาศว่าต้องมีประวัติส่วนตัวก็ตามเราก็สามารถแนบไปในใบสมัครเพื่อให้บริษัทรู้จักเรามากยิ่งขึ้นเป็นการเพิ่มโอกาสที่เราจะได้รับเลือกเข้าทำงานมากกว่าผู้สมัครงานคนอื่นๆ
ที่เราจำเป็นต้องเตรียมเอกสารให้มากเพียงพอเพราะเราจะไม่รู้เลยว่าเราจะเจอบริษัทและตำแหน่งงานที่เราต้องมากแค่ไหนถ้าเกิดเอกสารเราไม่พอโอกาสที่เราจะสมัครงานก็แทบจะเป็นไปไม่ได้เพราะฉะนั้นทางที่ดีเราต้องเตรียมเอกสารให้เพียงพอและต้องเก็บเอกสารให้ดีไม่ยับเพราะเป็นเอกสารที่เราต้องส่งให้บริษัทไปพิจารณาถ้าเอกสารเรามีการผิดพลาดอะไรขึ้นมาอาจจะทำให้บริษัเข้าใจผิดทำให้โอกาสในการได้รับเลือกเข้าทำงานของเราก็น้อยลงแต่ถ้าเอกสารเราไม่พอจริงๆเราก็สามารถถ่ายเอกสารในงานได้แต่ต้องบอกไว้ก่อนว่าราคานั้นแพงกว่าปกติมากอย่างน้อย A4 ก็หน้าละ3บาทเพราะเขารู้อยู่แล้วว่าแถวนั้นไม่มีที่ถ่ายเอกสารทำให้สามารถตั้งราคาสูงๆได้และที่สำคัญคิวนั้นจะยาวมากๆอาจจะทำให้เราส่งเอกสารไม่ทันก็เป็นได้สิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งคือความถูกต้องของเอกสารเราต้องตรวจสอบว่าใบสมัครของเรานั้นเขียนอะไรผิดหรือไม่และเอกสารอย่างเช่นสำเนาทะเบียนบ้านสำเนาบัตรประชาชนนั้นหมดอายุหรือยังเพราะถ้าเราส่งเอกสารไปแล้วเราไม่สามารถขอคืนได้เพราะบริษัทก็ได้รับเอกสารมากอยู่แล้วถ้าต้องมานั่งหาเอกสารที่ผิดพลาดของเราอาจจะทำให้เอกสารของคนอื่นหายก็เป็นได้และที่สำคัญต้องเซ็นกำกับเอกสารที่เราส่งให้บริษัทด้วยเพื่อความปลอดภัยของเราเองที่บริษัทจะได้ไม่เอาเอกสารไปใช้ในทางที่ผิดหรือในสิ่งที่เราไม่อนุญาต
ประวัติย่อหรือResumeเป็นสิ่งที่เราจำเป็นต้องทำเพื่อให้ยื่นให้บริษัทประกอบการพิจารณาเพราะบริษัทส่วนใหญ่ต้องการโดยเฉพาะบริษัทใหญ่ๆถึงแม้ว่าจะไม่มีการประกาศว่าต้องมีประวัติส่วนตัวก็ตามเราก็สามารถแนบไปในใบสมัครเพื่อให้บริษัทรู้จักเรามากยิ่งขึ้นเป็นการเพิ่มโอกาสที่เราจะได้รับเลือกเข้าทำงานมากกว่าผู้สมัครงานคนอื่นๆ
ที่เราจำเป็นต้องเตรียมเอกสารให้มากเพียงพอเพราะเราจะไม่รู้เลยว่าเราจะเจอบริษัทและตำแหน่งงานที่เราต้องมากแค่ไหนถ้าเกิดเอกสารเราไม่พอโอกาสที่เราจะสมัครงานก็แทบจะเป็นไปไม่ได้เพราะฉะนั้นทางที่ดีเราต้องเตรียมเอกสารให้เพียงพอและต้องเก็บเอกสารให้ดีไม่ยับเพราะเป็นเอกสารที่เราต้องส่งให้บริษัทไปพิจารณาถ้าเอกสารเรามีการผิดพลาดอะไรขึ้นมาอาจจะทำให้บริษัเข้าใจผิดทำให้โอกาสในการได้รับเลือกเข้าทำงานของเราก็น้อยลงแต่ถ้าเอกสารเราไม่พอจริงๆเราก็สามารถถ่ายเอกสารในงานได้แต่ต้องบอกไว้ก่อนว่าราคานั้นแพงกว่าปกติมากอย่างน้อย A4 ก็หน้าละ3บาทเพราะเขารู้อยู่แล้วว่าแถวนั้นไม่มีที่ถ่ายเอกสารทำให้สามารถตั้งราคาสูงๆได้และที่สำคัญคิวนั้นจะยาวมากๆอาจจะทำให้เราส่งเอกสารไม่ทันก็เป็นได้สิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งคือความถูกต้องของเอกสารเราต้องตรวจสอบว่าใบสมัครของเรานั้นเขียนอะไรผิดหรือไม่และเอกสารอย่างเช่นสำเนาทะเบียนบ้านสำเนาบัตรประชาชนนั้นหมดอายุหรือยังเพราะถ้าเราส่งเอกสารไปแล้วเราไม่สามารถขอคืนได้เพราะบริษัทก็ได้รับเอกสารมากอยู่แล้วถ้าต้องมานั่งหาเอกสารที่ผิดพลาดของเราอาจจะทำให้เอกสารของคนอื่นหายก็เป็นได้และที่สำคัญต้องเซ็นกำกับเอกสารที่เราส่งให้บริษัทด้วยเพื่อความปลอดภัยของเราเองที่บริษัทจะได้ไม่เอาเอกสารไปใช้ในทางที่ผิดหรือในสิ่งที่เราไม่อนุญาต
ดูแลภาพลักษณ์ของตัวเองก่อนไปสมัครงาน
ในบทความนี้เราจะมาพูดถึงการเตรียมตัวไปงานนัดพบแรงซึ่งคนส่วนใหญ่คิดว่าไม่จำเป็นต้องเตรียมตัวอะไรแต่ในความเป็นจริงแล้วการเตรียมตัวเนี่ยแหละเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการเพิ่มโอกาสในการได้งาน
เริ่มต้นจากการแต่งตัวคนส่วนใหญ่คิดว่าแค่ไปสมัครงานตามบูธจัดงานไม่ได้ไปสมัครงานที่บริษัททำไมต้องใส่ใจในเรื่องการแต่งตัวด้วยคิดแบบนี้ถือว่าผิดเพราะว่าถึงแม้เราไม่ได้ไปสมัครงานที่บริษัทแต่เราแต่งตัวให้ดูดีไปก่อนเลยจะดีกว่ามานั่งเสียใจภายหลังถ้าทราบว่าเราไม่ได้รับเลือกเข้าทำงานเพราะการแต่งตัวของเราเองไม่ใช่เพราะความสามารถไม่ประมาทจะดีกว่า
การแต่งกายเราไม่จำเป็นต้องแต่งให้ดูเนียบและเลิศหรูแค่การแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยไม่ใช่สายเดี่ยวเสื้อยืดกางเกงยีนส์ขาดร้องเท้าแตะแบบนี้จะทำให้บริษัทไม่สนใจในตัวเราแล้วเพราะแค่การแต่งกายของเราก็ไม่น่าประทับใจแล้วทำให้ไม่อยากรู้จักเราเพิ่มเติมขึ้นถ้างานจัดในมหาวิทยาลัยเราแต่งชุดนักศึกษาอยู่แล้วก็โอเคแต่ถ้าไปข้างนอกก็ไม่ควรใส่สายเดี่ยวโชว์นู้นนี้เพราะทำให้เราดูไม่ดีอย่างแน่นอนทางที่ดีแต่งกายให้เหมาะสมจะดีกว่าเพื่อให้บริษัทประทับใจเราตั้งแต่แรกเห็นเราต้องจำเอาไว้เสมอว่าถ้าคนอื่นเห็นเราแล้วเราดูไม่ดีแต่งกายไม่น่ามองการที่จะเขามาสนใจในตัวเราต่อนั้นเป็นเรื่องที่ยากสู้เราทำดีตั้งแต่แรกเลยจะดีกว่า
เราต้องคิดเสมอว่าเจ้าหน้าที่ที่มารับสมัครงานเราไม่เคยรู้จักมาก่อนเขาไม่มีทางรู้ได้ว่าเราเป็นคนยังไงเคยทำอะไรมาบ้างแต่สิ่งที่เขาจะได้รับจากเราสิ่งแรกคือบุคลิกภาพการแต่งกายและการพูดจาของเราซึ่งอาจจะเป็นตัวตัดสินได้เลยว่าเขามองเราเป้นคนยังไงเราต้องพยายามรักษาสิ่งเหล่านี้ให้ดีที่สุดถึงแม้เราต้องแกล้งทำก็ตามเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตัวเราเองมีตัวอย่างของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในงานนัดพบแรงงานมาเล่าสู่กันฟังซึ่งมี2เหตุการณ์ดังต่อไปนี้
เรื่องแรกมีดังนี้ดิฉันเป็นเจ้าหน้าที่รับสมัครงานที่ไปออกบูธให้กับบริษัทมีผู้หญิงคนหนึ่งเข้าขอกรอกใบสมัครงานระหว่างนั้นเธอก้มจนเห็นสิ่งต่างๆจนหมดและกระโปรงก็สั้นเพียงแค่นั่งก็เห็นหมดนี้เป็นภาพแรกที่ฉันเห็นจากผู้หญิงคนนี้ซึ่งทำให้ฉันไม่ประทับใจอย่างมากเพราะไม่รู้ว่าถ้ารับเข้ามาทำงานจะทำให้มีปัญหาในการทำงานกับคนอื่นๆในบริษัทหรือไม่หรือทำให้ไม่ทำงานทำการกันทั้งบริษัท
เรื่องที่สองมีแฟนมายื่นดูประกาศรับสมัครงานที่หน้าบูธคุณผู้ชายก็สั่งคุณแฟนให้เขียนใบสมัครงานให้ใหญ่เป็นเรื่องที่น่าตกใจมากเพราะว่าแค่เขียนใบสมัครงานยังเขียนเองไม่ได้ถ้ารับเข้ามาทำงานจะทำงานได้นานแค่ไหนกันเชียวรู้สึกไม่ประทับใจอย่างมากทำให้เพราะเขาตัดโอกาสตัวเองแท้ๆแค่เรื่องเล็กน้อยกับการเขียนใบสมัครงานด้วยตัวเอง
เรื่องข้างต้นบ่งบอกได้ว่าแม้เพียงเรื่องเล็กๆน้อยๆก็อาจจะเป้นตัวตัดโอกาสที่เราจะได้รับเลือกเข้าทำงานแม้ว่าเราจะมีคุณสมบัติเพียงพอหรือเลิศหรูแค่ไหนก็ตามถ้าภาพแรกที่บริษัทเห็นเขาก็จะจำภาพนั้นไปตลอดโดยอาจจะไม่มองถึงความสามารถที่แท้จริงของเราก็เป็นได้ดังนั้นอย่าประมาทเด็ดขาดแม้เรื่องเล็กน้อยแค่ไหนก็ตาม
นัดพบแรงงาน
เป็นโอกาสทองของคนหางานเพราะไปที่เดียวสามารถสมัครงานกับบริษัทได้เป็นร้อยบริษัทคำแนะนำคือไปงานที่มีขนาดใหญ่เพราะจะมีบริษัทชั้นนำมาเข้าร่วมมากมายทำให้ไปทีเดียวคุ้มค่ารถเลยทีเดียวสำหรับบริษัทที่มาออกงานนัดพบแรงงานนั้นจะได้ประโยชน์จากการโปรโมทบริษัทไปในตัวแถมยังได้พนักงานเข้ามาทำงานโดยไม่ต้องผ่านบริษัทจัดหางานอะไรเลยซึ่งมีค่าใช้จ่ายอย่างแน่นอนงานใหญ่ๆจะมีบริษัททั้งเล็กและใหญ่มาให้เราเลือกมากมายแต่ละบริษัทที่มาออกงานก็จะได้รับใบสมัครไปมากมายส่วนงานเล็กๆก็อาจจะมีบริษัทใหญ่มาไม่กี่บริษัทส่วนใหญ่จะเป็นบริษัทเล็กๆอีกทั้งบางบริษัทก็ไม่มาเพราะได้บูธนั้นมาฟรีๆจากการลงรับสมัครงานทำให้งานนั้นไม่คุ้มค่าที่เราจะไปหางานเพราะอาจจะต้องเสียค่ารถฟรีซึ่งส่วนใหญ่งานพวกนี้จะพบได้ในห้างเป็นต้น
เราจะรู้ได้อย่างไรว่างานไหนเป็นงานใหญ่หรือเล็ก?
วิธีสังเกตง่ายๆคือดูจากจำนวนบริษัทที่มาประกาศรับสมัครงานที่จะมีบอกทั้งหน้างานหรือในเว็บไซต์หนังสือพิมพ์หรือตามทีวีซึ่งก็ขึ้นอยู่กับเจ้าของงานว่ามีการโปรโมทงานมากแค่ไหนถ้าเป็นงานใหญ่จะมีบริษัทที่ลงประกาศไว้ไม่น้อยกว่า100บริษัทแต่ถ้าน้อยกว่านี้จะเป้นงานเล็กแต่ถ้าคุณเดินทางสะดวกและไม่มีปัญหาในเรื่องของค่าเดินทางก็อาจจะไปเดินทั้งงานเล็กและงานใหญ่เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสให้ตัวเองส่วนงานใหญ่ที่จะแนะนำก็มีงานที่จัดในมหาวิทยาลัยหรืองานที่จัดในสถานที่ใหญ่ๆเช่นImpactเมืองทองธานีเป็นต้นซึ่งปีนึงมีการจัดงานไม่กี่ครั้งทำให้ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากจากคนที่ต้องการหางานทำคำแนะนำในการเรื่องงานที่จะไปเมื่อเวลาในการจัดงานนั้นใกล้กันให้เราเลือกไปงานที่ใหญ่กว่าเพราะว่าบริษัทที่มาออกงานนั้นจะไม่แตกต่างกันเท่าไรเราก็ไม่ควรไปให้เสียค่ารถเลือกงานที่ใหญ่ไปเลยจะดีกว่า
เวลาไปงานไม่ควรไปคนเดียวเพราะเราจะดูไม่ทั่วถึงเราควรยกเพื่อนๆหรือคนที่รู้จักไปช่วยกันดูตำแหน่งที่เปิดรับสมัครทั้งจากประกาศหน้างานและจากบูธของบริษัทต่างๆทั้งนี้เป็นการช่วยลดเวลาในการเดินหาตำแหน่งงานที่ต้องการถ้าเราไปคนเดียวไม่มีทางที่วันเดียวเราจะเดินหาตำแหน่งงานที่เราต้องการเจอถ้าเราไม่มีโชคพอเมื่อเราเดินทั่วงานแล้วก็ถึงเวลากรอกใบสมัครงานซึ่งสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งคือหาสถานที่กรอกใบสมัครงานเพราะคนนั้นจะเยอะมากๆทางที่ดีควรไปก่อนงานเริ่มและให้เพื่อนคนหนึ่งจองที่นั่งไว้กรอกใบสมัครงานไว้ส่วนที่เหลือก็เดินหาตำแหน่งงานที่ต้องการต่อมาเมื่อเรากรอกใบสมัครเราต้องสับสนอย่างแน่นอนเพราะแต่ละบริษัทก็ต้องการเอกสารไม่เหมือนกันแล้วเราจะทำอย่างไรดีละมีวิธีดังนี้
อุปกรณ์การเขียนอะไรก็ได้เช่นดินสอปากกาเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมากเมื่อเราไปเจอตำแหน่งงานที่สนใจเราก็ควรจดบันทึกไว้วางชื่อบริษัทอะไรบูธที่เท่าไรและตำแหน่งที่เราสนใจในบริษัทนั้นต่อมาก็ดูเอกสารที่บริษัทนั้นต้องการซึ่งส่วนใหญ่แล้วบริษัทมีบอกไว้อยู่เราก็อาจจะเตรียมตั้งแต่ตอนนั้นหรือจดบันทึกไว้ก่อนแล้วมานั่งเขียนใบสมัครและรวบรวมหลักฐานทีเดียวโดยวีธีหลังจะเป็นวิธีที่ทำให้เราสมัครงานได้หลายบริษัทเวลาอันสั้นซึ่งเหมาะสำหรับคนที่ไม่เลือกงานและต้องการงานทำเร็วที่สุดถ้าเราทำตามวิธีข้างต้นรับรองได้ว่าเราจะไม่ต้องเดินไปมาระหว่างโต๊ะเขียนใบสมัครกับบูธจัดงานอย่างแน่นอนซึ่งบางครั้งทำให้เราส่งใบสมัครไม่ทันซึ่งถ้าเกิดเราส่งใบสมัครไม่ทันจริงๆเราอาจจะกลับไปดูที่บูธนั้นบริษัทอาจจะมีเอกสารหรือที่อยู่ติดต่อกลับเพื่อให้ส่งใบสมัครแต่ทางที่ดีควรส่งใบสมัครในเวลาที่กำหนดจะดีกว่า
หางานจากที่ไหนได้ผลดีที่สุด
เมื่อเราทราบแล้วว่าช่วงเวลาไหนเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการเริ่มหางานมากที่สุด...ต่อมาเราต้องทราบว่าหางานจากที่ไหนได้ผลดีที่สุด...โดยเราต้องศึกษาหาข้อมูลไว้ตั้งแต่เนิ่นๆการลงประกาศรับสมัครงานในอดีตจะลงประกาศในหนังสือพิมพ์หรือประกาศบนนิตยสารหรือติดประกาศตามที่ต่างๆและให้ผู้สมัครงานเข้าไปสมัครงานกับที่บริษัทโดยตรงหรือที่เรียกกันว่าWalk inแต่ในปัจจุบันมีเทคโนโลยีต่างๆมากมายเกิดขึ้นทำให้การประกาศรับสมัครงานนั้นมีหลากหลายช่องทาง
-การประกาศรับสมัครงานทางอินเทอร์เน็ต
-การออกบูธตามงานต่างๆ
-การเข้าไปแนะนำบริษัทในมหาวิทยาลัย
-ผ่านการแนะแนวของมหาวิทยาลัย
อย่างที่เราเห็นข้างต้นบริษัททำทุกวีถีทางเพื่อดึงผู้สมัครให้มาสมัครงานกับบริษัทดังนั้นเราก็ต้องใช้ช่องทางต่างๆที่มีอยู่มากมายให้เกิดประโยชน์กับตัวเรามากที่สุดเพื่อให้เราได้งานที่เราคาดหวังเอาไว้เมื่อถึงช่วงเวลาที่กำลังมีนักศึกษาจบใหม่บริษัทต่างๆจะเข้ามาในมหาวิทยาลัยเป้าหมายเพื่อเข้ามาแนะนำบริษัทให้นักศึกษาที่กำลังจะจบรู้จักอีกทั้งยังเพื่อมาดึงตัวคนที่เก่งๆให้มาทำงานกับบริษัทโดยเฉพาะบริษัทที่มีขนาดใหญ่บริษัทเหล่านี้จะรีบมาดึงตัวคนเก่งๆไปทำงานก่อนที่จะโดนบริษัทอื่นมาแย่งไปเพราะช่วงเวลาที่สำคัญในการตัดสินในการเลือกทำงานที่บริษัทใดของนักศึกษาอยู่ในช่วงเหล่านี้
การที่บริษัทเข้ามาแนะนำบริษัทเป็นประโยชน์ต่อทั้งบริษัทเองและตัวของนักศึกษาเพราะว่าทางบริษัทก็จะได้โปรโมทบริษัทไปในตัวแถมยังได้นักศึกษาเก่งๆไปรวมงานอีกด้วยส่วนตัวนักศึกษาก็จะไม่ต้องไปหางานให้เหนื่อยเพราะมีบริษัทมายื่นข้อเสนอให้ถึงที่อีกทั้งยังทำให้นักศึกษาเข้าใจการทำงานของบริษัทมากยิ่งขึ้นและนำกลับไปพิจารณาว่าตัวเองเหมาะกับการทำงานที่บริษัทนี้หรือไม่อย่างไรการที่บริษัทเข้ามาแนะนำถึงมหาวิทยาลัยเป็นทางเลือกในการหางานที่ดีของนักศึกษามากกว่าทางอื่นเพราะเราสามารถสอบถามในสิ่งที่เราอยากรู้ได้โดยตรงไม่เหมือนการสมัครงานผ่านทางอินเทอร์เน็ตหรือช่องทางอื่นๆถ้าอยากรู้อะไรเราสามารถถามได้โดยตรงเพราะว่าบริษัทก็อยากตอบคำถามของเราอยู่แล้วเพื่อให้บริษัทนั้นเป็นที่สนใจมากที่สุดนักศึกษาบางคนอาจจะไม่ได้สนใจในบริษัทนี้มาก่อนแต่เมื่อบริษัทมาแนะนำตัวเองก็ทำให้นักศึกษาสนใจในตัวบริษัทนี้มากยิ่งขึ้นและอยากร่วมงานเพราะก่อนที่เราจะตัดสินใจอะไรเราจำเป้นต้องมีข้อมูลมากเพียงพอในการประกอบการตัดสินใจ
ถ้าจะบอกว่าหางานจากที่ไหนนั้นดีที่สุดก็ขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการทำงานมากแค่ไหนเราอยากทำงานที่เราชอบเราก็ต้องเก่งมีคุณสมบัติเพียงพอที่จะไปสมัครงานนั้นๆเพราะเมื่อเราเก่งและมีคุณสมบัติเพียงพอแล้วไม่ว่าเราจะไปหางานจากที่ไหนเราก็มีโอกาสที่จะไดรับเลือกเข้าทำงานมากกว่าคนอื่นๆอย่างแน่นอนแต่การสมัครงานไม่ได้มีเพียงอยู่แค่นั้นมีอยู่หลากหลายทางเลือกในการสมัครงานเราต้องพิจารณาให้ดีว่าเราเหมาะสมกับการสมัครงานทางเลือกไหนบางคนอาจจะชอบการได้ถามคำถามกับบริษัทแต่บางคนไม่ชอบถามคำถามแต่ชอบลงมือทำขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการแบบไหนเท่านั้นเอง
-การประกาศรับสมัครงานทางอินเทอร์เน็ต
-การออกบูธตามงานต่างๆ
-การเข้าไปแนะนำบริษัทในมหาวิทยาลัย
-ผ่านการแนะแนวของมหาวิทยาลัย
อย่างที่เราเห็นข้างต้นบริษัททำทุกวีถีทางเพื่อดึงผู้สมัครให้มาสมัครงานกับบริษัทดังนั้นเราก็ต้องใช้ช่องทางต่างๆที่มีอยู่มากมายให้เกิดประโยชน์กับตัวเรามากที่สุดเพื่อให้เราได้งานที่เราคาดหวังเอาไว้เมื่อถึงช่วงเวลาที่กำลังมีนักศึกษาจบใหม่บริษัทต่างๆจะเข้ามาในมหาวิทยาลัยเป้าหมายเพื่อเข้ามาแนะนำบริษัทให้นักศึกษาที่กำลังจะจบรู้จักอีกทั้งยังเพื่อมาดึงตัวคนที่เก่งๆให้มาทำงานกับบริษัทโดยเฉพาะบริษัทที่มีขนาดใหญ่บริษัทเหล่านี้จะรีบมาดึงตัวคนเก่งๆไปทำงานก่อนที่จะโดนบริษัทอื่นมาแย่งไปเพราะช่วงเวลาที่สำคัญในการตัดสินในการเลือกทำงานที่บริษัทใดของนักศึกษาอยู่ในช่วงเหล่านี้
การที่บริษัทเข้ามาแนะนำบริษัทเป็นประโยชน์ต่อทั้งบริษัทเองและตัวของนักศึกษาเพราะว่าทางบริษัทก็จะได้โปรโมทบริษัทไปในตัวแถมยังได้นักศึกษาเก่งๆไปรวมงานอีกด้วยส่วนตัวนักศึกษาก็จะไม่ต้องไปหางานให้เหนื่อยเพราะมีบริษัทมายื่นข้อเสนอให้ถึงที่อีกทั้งยังทำให้นักศึกษาเข้าใจการทำงานของบริษัทมากยิ่งขึ้นและนำกลับไปพิจารณาว่าตัวเองเหมาะกับการทำงานที่บริษัทนี้หรือไม่อย่างไรการที่บริษัทเข้ามาแนะนำถึงมหาวิทยาลัยเป็นทางเลือกในการหางานที่ดีของนักศึกษามากกว่าทางอื่นเพราะเราสามารถสอบถามในสิ่งที่เราอยากรู้ได้โดยตรงไม่เหมือนการสมัครงานผ่านทางอินเทอร์เน็ตหรือช่องทางอื่นๆถ้าอยากรู้อะไรเราสามารถถามได้โดยตรงเพราะว่าบริษัทก็อยากตอบคำถามของเราอยู่แล้วเพื่อให้บริษัทนั้นเป็นที่สนใจมากที่สุดนักศึกษาบางคนอาจจะไม่ได้สนใจในบริษัทนี้มาก่อนแต่เมื่อบริษัทมาแนะนำตัวเองก็ทำให้นักศึกษาสนใจในตัวบริษัทนี้มากยิ่งขึ้นและอยากร่วมงานเพราะก่อนที่เราจะตัดสินใจอะไรเราจำเป้นต้องมีข้อมูลมากเพียงพอในการประกอบการตัดสินใจ
ถ้าจะบอกว่าหางานจากที่ไหนนั้นดีที่สุดก็ขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการทำงานมากแค่ไหนเราอยากทำงานที่เราชอบเราก็ต้องเก่งมีคุณสมบัติเพียงพอที่จะไปสมัครงานนั้นๆเพราะเมื่อเราเก่งและมีคุณสมบัติเพียงพอแล้วไม่ว่าเราจะไปหางานจากที่ไหนเราก็มีโอกาสที่จะไดรับเลือกเข้าทำงานมากกว่าคนอื่นๆอย่างแน่นอนแต่การสมัครงานไม่ได้มีเพียงอยู่แค่นั้นมีอยู่หลากหลายทางเลือกในการสมัครงานเราต้องพิจารณาให้ดีว่าเราเหมาะสมกับการสมัครงานทางเลือกไหนบางคนอาจจะชอบการได้ถามคำถามกับบริษัทแต่บางคนไม่ชอบถามคำถามแต่ชอบลงมือทำขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการแบบไหนเท่านั้นเอง
ใกล้เรียนจบแล้วควรเริ่มสมัครงานตอนไหนดี
ใกล้จะเรียนจบแล้วเราควรจะไปสมัครงานก่อนจบแล้วจะได้เริ่มทำงานเลยทันที...หรือจะรีบทำไมรอให้เรียนจบก่อนค่อยไปสมัครงานดีกว่าเพราะไม่แน่ว่าจะเรียนจบหรือเปล่าเกรดก็ไม่ค่อยดีใครจะรับเราเข้าทำงานงานมีให้สมัครตลอดแหละไม่ต้องกลัวสองความคิดที่เรามักได้ยินบ่อยๆจากนักศึกษาที่กำลังจะใกล้จบการศึกษาบางคนกังวลว่าตัวเองจะเลือกงานที่ไหนดีส่วนบางคนกังวลว่าจะมีบริษัทไหนรับเราเข้าทำงานหรือไม่อย่างหลังนี่น่าเป็นห่วงเพราะว่าเรามีความคิดในแง่ลบตั้งแต่ยังไม่สมัครงานก็ทำให้เราหมดกำลังใจในการสมัครงานไปแล้วครึ่งหนึ่งใครจะไปรู้ว่าบางทีเราอาจจะได้ทำงานในบริษัทใหญ่ๆก็ได้ด้วยความสามารถที่เราไม่เคยรู้มาก่อนคนแต่ละคนก็เหมาะกับงานแต่ละงานซึ่งไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละคน
ความคิดที่ว่ารอให้เรียนจบก่อนแล้วค่อยไปหางานแม้จะเป็นความคิดที่นักศึกษาส่วนใหญ่คิดเพราะกลัวว่าตัวเองจะเรียนไม่จบเลยรอให้เรียนจบก่อนค่อยไปหางานแม้จะเป็นความคิดที่ดีแต่ก็ไม่สนับสนุนเพราะถ้าเรามัวแต่ชักช้ารอเรียนจบเราอาจจะไม่ได้งานที่เราหวังไว้ควรเริ่มหางานตอนใกล้จะเรียนจบเริ่มต้นได้ดีและรวดเร็วย่อมมีชัยไปแล้วครึ่งหนึ่ง
นักศึกษาบางคนสงสัยว่าช่วงใกล้เรียนจบคือช่วงไหนเทอม1หรือ2ต้นเทอมหรือปลายเทอมคำถามนี้หลายคนคงต้องการคำตอบเหมือนกับการที่เราต้องลงมือทำอะไรสักอย่างเราก็ต้องการเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการลงมือและช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการหางานคือช่วงเวลากลางเทอมของปี4หรือปลายเดือนธันวาคมหรือช่วงสอบกลางภาคของเทอม2
เพราะอะไรถึงต้องเป็นช่วงนี้
ก็การเรียนจบไม่จบมันจะแสดงผลในช่วงนี้ตัวเราเองก็จะรู้ว่าแผนการเรียนที่เราวางไว้ตรงตามที่เราต้องการหรือไม่วิชาที่เราเรียนอยู่จะผ่านแน่นอนหรือไม่และหลายๆเหตุผลที่บอกว่าเราเรียนจบแน่นอน
ฝ่ายนายจ้างก็สามารถมั่นใจได้ว่าเราเรียนจบแน่นอนโดยดูจากใบรับรองของมหาวิทยาลัยซึ่งถ้าเราขยันตั้งแต่เทอม1รับรองได้เลยว่าคุณจบอย่างแน่นอนบริษัทก็จะเชื่อมั่นว่าเราจบอย่างแน่นอนจากการรับรองของมหาวิทยาลัย
สำคัญที่สุดช่วงนี้เป็นช่วงที่ดีที่สุดในการสมัครงานสำหรับเด็กจบใหม่เพราะเริ่มตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคมถึงเมษายน4เดือนที่เป็นช่วงที่เหมาะสมที่สุดในการสมัครงานโดยผู้ที่ได้รับเลือกเข้าทำงานก็จะถูกร้องขอให้ทำงานในช่วงเมษายนถึงพฤษภาคมเป็นต้นไปถ้าหากเลยช่วงนี้ไปก็คงต้องรอไปอีกนาน
4เดือนเป็นช่วงที่ตลาดแรงงานกำลังเติบโตถ้าเราพลาดช่วงสำคัญนี้ไปการสมัครงานก็จะเป็นเรื่องที่ยากขึ้นดังนั้นเราควรวางแผนสิ่งต่างๆให้ดีทั้งการเรียนและการสมัครงานเพื่อให้ตรงเวลาที่เหมาะสมในการสมัครงานมากที่สุด
ความคิดที่ว่ารอให้เรียนจบก่อนแล้วค่อยไปหางานแม้จะเป็นความคิดที่นักศึกษาส่วนใหญ่คิดเพราะกลัวว่าตัวเองจะเรียนไม่จบเลยรอให้เรียนจบก่อนค่อยไปหางานแม้จะเป็นความคิดที่ดีแต่ก็ไม่สนับสนุนเพราะถ้าเรามัวแต่ชักช้ารอเรียนจบเราอาจจะไม่ได้งานที่เราหวังไว้ควรเริ่มหางานตอนใกล้จะเรียนจบเริ่มต้นได้ดีและรวดเร็วย่อมมีชัยไปแล้วครึ่งหนึ่ง
นักศึกษาบางคนสงสัยว่าช่วงใกล้เรียนจบคือช่วงไหนเทอม1หรือ2ต้นเทอมหรือปลายเทอมคำถามนี้หลายคนคงต้องการคำตอบเหมือนกับการที่เราต้องลงมือทำอะไรสักอย่างเราก็ต้องการเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการลงมือและช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการหางานคือช่วงเวลากลางเทอมของปี4หรือปลายเดือนธันวาคมหรือช่วงสอบกลางภาคของเทอม2
เพราะอะไรถึงต้องเป็นช่วงนี้
ก็การเรียนจบไม่จบมันจะแสดงผลในช่วงนี้ตัวเราเองก็จะรู้ว่าแผนการเรียนที่เราวางไว้ตรงตามที่เราต้องการหรือไม่วิชาที่เราเรียนอยู่จะผ่านแน่นอนหรือไม่และหลายๆเหตุผลที่บอกว่าเราเรียนจบแน่นอน
ฝ่ายนายจ้างก็สามารถมั่นใจได้ว่าเราเรียนจบแน่นอนโดยดูจากใบรับรองของมหาวิทยาลัยซึ่งถ้าเราขยันตั้งแต่เทอม1รับรองได้เลยว่าคุณจบอย่างแน่นอนบริษัทก็จะเชื่อมั่นว่าเราจบอย่างแน่นอนจากการรับรองของมหาวิทยาลัย
สำคัญที่สุดช่วงนี้เป็นช่วงที่ดีที่สุดในการสมัครงานสำหรับเด็กจบใหม่เพราะเริ่มตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคมถึงเมษายน4เดือนที่เป็นช่วงที่เหมาะสมที่สุดในการสมัครงานโดยผู้ที่ได้รับเลือกเข้าทำงานก็จะถูกร้องขอให้ทำงานในช่วงเมษายนถึงพฤษภาคมเป็นต้นไปถ้าหากเลยช่วงนี้ไปก็คงต้องรอไปอีกนาน
4เดือนเป็นช่วงที่ตลาดแรงงานกำลังเติบโตถ้าเราพลาดช่วงสำคัญนี้ไปการสมัครงานก็จะเป็นเรื่องที่ยากขึ้นดังนั้นเราควรวางแผนสิ่งต่างๆให้ดีทั้งการเรียนและการสมัครงานเพื่อให้ตรงเวลาที่เหมาะสมในการสมัครงานมากที่สุด
ทำงานอย่างไรให้เป็นมืออาชีพ
คนทำงานทุกคนต้องการให้คนอื่นเรียกตัวเองว่ามืออาชีพอย่างแน่นอนเพราะเป็นคำพูดที่แสดงว่าเรามีความสามารถสูงมีประสบการณ์มากทำให้เราถูกเรียกว่ามืออาชีพแล้วการที่เป็นมีอาชีพได้นั้นต้องเป็นอย่างไรละในบทความนี้เราจะมาบอกแนวทางในการทำงานให้เป็นมืออาชีพกันซึ่งไม่ยากถ้าหากเราตั้งใจทำและเราจะภูมิใจในสิ่งที่เราทำและผลที่ได้รับนั้นยิ่งใหญ่ซึ่งมีดังต่อไปนี้
ทำงานอย่างไรให้เป็นมืออาชีพ
ไม่ว่าเราจะทำงานอะไรเราต้องทำอย่างตั้งใจการทำงานอย่างอย่างตั้งใจจะทำให้คนอื่นมองว่าเราทำงานอย่างเป็นมืออาชีพการตั้งใจทำงานเป็นสิ่งที่สำคัญที่ช่วยการทำงานของเรานั้นก้าวหน้าและประสบความสำเร็จได้เร็วเป็นที่ยอมรับของลูกค้าและเจ้านาย
การทำงานอย่างมืออาชีพมีดังต่อไปนี้
1.ให้เกียรติ
-ให้เกียรติเพื่อนร่วมงานในการแสดงความคิดเห้นในเรื่องต่างๆนาๆโดยไม่เอาตัวเองเป็นศูนย์กลางหรือเอาแต่ใจตัวเองต้องยอมรับทุกความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน
-ให้เกียรติผู้อื่นในการทำงานหรือการเข้าประชุมต้องตรงต่อเวลาไม่ให้ผู้อื่นมารอเราแต่เราต้องมาก่อนเวลาล่วงหน้าเพื่อเป็นการแสดงการให้เกียรติผู้อื่น
2.ความรับผิดชอบ
-รับผิดชอบต่อการกระทำและคำพูดของตน
คำพูดเป็นสิ่งสำคัญมากในการทำงานโดยเฉพาะงานที่ต้องทำร่วมกับผู้อื่นทุกคำพูดที่เราพูดออกเป็นเปรี่ยบเสมือนคำสัญญาที่เราต้องทำให้ได้เพราะผู้อื่นเชื่อมั่นในคำพดของเราว่าเราจะทำได้จริงดังนั้นถ้าเราผิดคำพูดก็จะทำให้ต่อไปคำพูดของเรานั้นไม่มีความน่าเชื่ออีกต่อไป
-รับผิดชอบต่องานของตน
นอกจากการทำงานส่งให้ตรงต่อเวลาแล้วความรับผิดชอบในการทำงานออกมาให้ตรงตามความต้องการก็เป็นสิ่งที่เราควรกระทำถ้าเราทำงานตรงเวลาแต่งานที่ออกมานั้นไม่มีคุณภาพก็เท่ากับว่าเราไม่รับผิดชอบต่องานที่เราทำ
3.เต็มใจยอมรับในความผิดพลาด
ไม่ว่าจะทำงานอะไรล้วนแล้วต้องมีความผิดพลาดอยู่เสมอทั้งความผิดพลาดเล็กๆน้อยๆหรือความผิดพลาดที่ใหญ่แต่การยอมรับความผิดพลาดเป็นสิ่งที่สำคัญเมื่อเรารู้ว่าเราผิดพลาดเราก็ต้องขอโทษและแก้ไขปัญหานั้นให้เร็วที่สุดเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในตัวของเราแต่อย่างไรก็ตามต่อไปก็ควรผิดพลาดให้น้อยลงหรือไม่ผิดพลาดเลยก็จะเป็นสิ่งที่ดีกว่า
4.พัฒนาตัวเอง
เนื่องจากปัจจุบันมีการทำงานที่พัฒนาขึ้นใช้เทคโนโลยีในการทำงานมากขึ้นเราก็ต้องปรับตัวเพื่อให้ทันเทคโนโลยีเพื่อช่วยให้การทำงานของเรานั้นสะดวกขึ้นเราต้องใช้เทคโนโลยีในทางที่ถูกการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากในปัจจุบันถ้าเราไม่พัฒนาการทำงานของเราก็จะล้าช้ากว่าคนอื่น
เทคนิคข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการทำงานให้เป็นมืออาชีพการทำงานแบบมืออาชีพไม่ใช่เรื่องยากเพียงแค่เรามีความตั้งใจการทำงานที่จะทำให้งานออกมาดีและที่สำคัญต้องให้เกียรติผู้อื่นในการทำงานด้วยคุณก็จะทำงานแบบมืออาชีพได้ไม่ยาก
ทำงานอย่างไรให้เป็นมืออาชีพ
ไม่ว่าเราจะทำงานอะไรเราต้องทำอย่างตั้งใจการทำงานอย่างอย่างตั้งใจจะทำให้คนอื่นมองว่าเราทำงานอย่างเป็นมืออาชีพการตั้งใจทำงานเป็นสิ่งที่สำคัญที่ช่วยการทำงานของเรานั้นก้าวหน้าและประสบความสำเร็จได้เร็วเป็นที่ยอมรับของลูกค้าและเจ้านาย
การทำงานอย่างมืออาชีพมีดังต่อไปนี้
1.ให้เกียรติ
-ให้เกียรติเพื่อนร่วมงานในการแสดงความคิดเห้นในเรื่องต่างๆนาๆโดยไม่เอาตัวเองเป็นศูนย์กลางหรือเอาแต่ใจตัวเองต้องยอมรับทุกความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน
-ให้เกียรติผู้อื่นในการทำงานหรือการเข้าประชุมต้องตรงต่อเวลาไม่ให้ผู้อื่นมารอเราแต่เราต้องมาก่อนเวลาล่วงหน้าเพื่อเป็นการแสดงการให้เกียรติผู้อื่น
2.ความรับผิดชอบ
-รับผิดชอบต่อการกระทำและคำพูดของตน
คำพูดเป็นสิ่งสำคัญมากในการทำงานโดยเฉพาะงานที่ต้องทำร่วมกับผู้อื่นทุกคำพูดที่เราพูดออกเป็นเปรี่ยบเสมือนคำสัญญาที่เราต้องทำให้ได้เพราะผู้อื่นเชื่อมั่นในคำพดของเราว่าเราจะทำได้จริงดังนั้นถ้าเราผิดคำพูดก็จะทำให้ต่อไปคำพูดของเรานั้นไม่มีความน่าเชื่ออีกต่อไป
-รับผิดชอบต่องานของตน
นอกจากการทำงานส่งให้ตรงต่อเวลาแล้วความรับผิดชอบในการทำงานออกมาให้ตรงตามความต้องการก็เป็นสิ่งที่เราควรกระทำถ้าเราทำงานตรงเวลาแต่งานที่ออกมานั้นไม่มีคุณภาพก็เท่ากับว่าเราไม่รับผิดชอบต่องานที่เราทำ
3.เต็มใจยอมรับในความผิดพลาด
ไม่ว่าจะทำงานอะไรล้วนแล้วต้องมีความผิดพลาดอยู่เสมอทั้งความผิดพลาดเล็กๆน้อยๆหรือความผิดพลาดที่ใหญ่แต่การยอมรับความผิดพลาดเป็นสิ่งที่สำคัญเมื่อเรารู้ว่าเราผิดพลาดเราก็ต้องขอโทษและแก้ไขปัญหานั้นให้เร็วที่สุดเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในตัวของเราแต่อย่างไรก็ตามต่อไปก็ควรผิดพลาดให้น้อยลงหรือไม่ผิดพลาดเลยก็จะเป็นสิ่งที่ดีกว่า
4.พัฒนาตัวเอง
เนื่องจากปัจจุบันมีการทำงานที่พัฒนาขึ้นใช้เทคโนโลยีในการทำงานมากขึ้นเราก็ต้องปรับตัวเพื่อให้ทันเทคโนโลยีเพื่อช่วยให้การทำงานของเรานั้นสะดวกขึ้นเราต้องใช้เทคโนโลยีในทางที่ถูกการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากในปัจจุบันถ้าเราไม่พัฒนาการทำงานของเราก็จะล้าช้ากว่าคนอื่น
เทคนิคข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการทำงานให้เป็นมืออาชีพการทำงานแบบมืออาชีพไม่ใช่เรื่องยากเพียงแค่เรามีความตั้งใจการทำงานที่จะทำให้งานออกมาดีและที่สำคัญต้องให้เกียรติผู้อื่นในการทำงานด้วยคุณก็จะทำงานแบบมืออาชีพได้ไม่ยาก
7คำว่าไม่ที่ทำให้เราเป็นที่รักของเจ้านาย
7คำว่าไม่ที่ทำให้เราเป็นที่รักของเจ้านาย
1.ไม่โต้เถียงเจ้านาย
2.ไม่ปฎิเสธงานที่เจ้านายมอบหมายให้
3.ไม่นินทาเจ้านายลับหลัง
4.ไม่พูดจาเพ้อเจ้อ
5.ไม่ปัดงานที่ตัวเองได้รับให้เป็นของคนอื่น
6.ไม่ข้ามหน้าข้ามตาเจ้านาย
7.ไม่ทำให้เจ้านายเสียหน้า
สิ่งที่จะทำให้เจ้านายเชื่อใจในตัวเรามากที่สุดนั้นก็คือความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบในการทำงานไม่ใช่การเอาใจเลียแข้งเลียขาการสร้างผลงานด้วยตัวเองและทำให้เจ้านายเห็นว่าเรามีความสามารถสิ่งนั้นจะทำให้เจ้านายไว้ใจเราและมอบหมายงานต่างๆที่สำคัญให้เราทำเมื่อเราทำได้ดีก็ทำให้เรามีโอกาสในการได้รับการเลื่อนตำแหน่งหรือขึ้นเงินเดือนอย่างแน่นอน
5เทคนิคที่เจ้านายใช้สื่อสารกับลูกน้องเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ
การสื่อสารระหว่างเจ้านายกับลูกน้องถือได้ว่าเป็นเรื่องสำคัญอย่างมากเพราะถ้าเจ้านายกับลูกน้องสื่อสารกันผิดพลาดแล้วละก็จะทำงานนั้นไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควรอย่างแน่นอนการสื่อสารกับลูกน้องมีอยู่หลากหลายรูปแบบวันนี้เราจะมาบอกเทคนิคให้เจ้านายสื่อสารกับลูกน้องให้ลูกน้องทำงานได้ออกมาอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งมีดังต่อไปนี้
1.ตั้งคำถามกับลูกน้อง
การทำงานไม่ก้าวหน้าบ่อยครั้งเกิดจากการที่ลูกน้องไม่รู้ว่าตัวเองต้องทำอะไรมีจุดมุ่งหมายอะไรลูกน้องไม่ทราบว่าเจ้านายต้องการอะไรหรือเกิดจากการสื่อสารที่ผิดพลาดระหว่างการทำงานดังนั้นเจ้านายต้องเริ่มแก้ไขปัญหาด้วยการตั้งคำถามลูกน้องว่าเหตุใดงานจึงไม่ก้าวหน้าเพื่อให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดเพื่อให้เกิดความแน่ใจว่าลูกน้องเข้าใจจุดประสงค์ของงานและวิธีทำงานที่ถูกต้องเจ้านายต้องบอกจุดมุ่งหมายในการทำงานที่ชัดเจนไม่เช่นนั้นการทำงานก็จะเป็นการทำงานแบบไม่มีที่สิ้นสุดและทำงานน่าเบื่อการตั้งคำถามพนักงานยังเป็นการทดสอบว่าพนักงานมีความรู้ความสามารถมากแค่ไหนอีกด้วย
2.ฟังสิ่งที่ลูกน้องพูด
เจ้านายไม่จำเป็นต้องพูดเสมอบางครั้งเราก็ต้องฟังในสิ่งที่ลูกน้องต้องการพูดด้วยและต้องฟังอย่างตั้งใจเพราะบางครั้งสิ่งที่ลูกน้องพูดอาจจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้งานประสบความสำเร็จลูกน้องอาจจะเล่าถึงปัญหาในการทำงานที่เราไม่เคยรู้มาก่อนเช่นมีเพื่อนร่วมงานที่ทำให้งานล้าช้าแต่ไม่กล้าบอกเจ้านายเพราะพนักงานคนนี้มีเส้นเป็นต้นหรืออาจจะเกิดจากปัญหาที่เจ้านายคาดไม่ถึงเช่นตัวเจ้านายเองไม่มาควบคุมดูแลเลยทำให้ล้าช้าเพราะไม่มีคนมากดดันเป็นต้น
3.ยอมรับลูกน้อง
ใส่ใจความรู้สึกของลูกน้องทุกคนการที่เจ้านายเข้าใจความรู้สึกของลูกน้องทุกคนทำให้สามารถแบ่งงานได้เหมาะสมและดูถูกลูกน้องเพราะลูกน้องแต่ละคนก็มีความสามารถไม่เหมือนกันควรใช้การทำงานที่ลูกน้องคนนั้นถนัดเป็นการตัดสินจึงเป็นสิ่งที่สมควรมากกว่าเมื่อลูกน้องทำงานได้ดีก็ควรให้รางวัลเป็นการตอบแทนเพื่อให้ลูกน้องคนอื่นตั้งใจทำงานมากขึ้น
4.สื่อสารกับลูกน้องให้มาก
ในการทำงานการสื่อสารระหว่างคนที่ทำงานร่วมกันเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะระหว่างเจ้านายกับลูกน้องเพราะถ้าเจ้านายไม่สั่งงานลูกน้องก็จะไม่ทราบว่าต้องทำงานอะไรและเมื่อลูกน้องทำงานผิดพลาดและเจ้านายไม่ว่ากล่าวตักเตือนลูกน้องก็จะไม่ทราบว่าตัวเองทำงานผิดพลาดทำให้เกิดปัญหาต่อไปในอนาคตเพราะฉะนั้นเจ้านายที่ดีต้องสื่อสารกับลูกน้องอยู่เสมอเพื่อให้เกิดความคุ้นชินและกระตุ้นการทำงานของลูกน้องเพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ
5.แก้ไขปัญหาร่วมกัน
การทำงานทุกงานต้องมีปัญหาอย่างแน่นอนเมื่อเกิดปัญหาเจ้านายที่ดีต้องไม่ทิ้งให้ลูกน้องเผชิญปัญหาเพียงลำพังต้องเข้าไปช่วยกันแก้ไขปัญหาซึ่งสิ่งนี้จะทำให้ลูกน้องให้ความเคารพแก่เราเพราะแม้แต่เกิดปัญหาเจ้านายก็ไม่ทิ้งเรา
1.ตั้งคำถามกับลูกน้อง
การทำงานไม่ก้าวหน้าบ่อยครั้งเกิดจากการที่ลูกน้องไม่รู้ว่าตัวเองต้องทำอะไรมีจุดมุ่งหมายอะไรลูกน้องไม่ทราบว่าเจ้านายต้องการอะไรหรือเกิดจากการสื่อสารที่ผิดพลาดระหว่างการทำงานดังนั้นเจ้านายต้องเริ่มแก้ไขปัญหาด้วยการตั้งคำถามลูกน้องว่าเหตุใดงานจึงไม่ก้าวหน้าเพื่อให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดเพื่อให้เกิดความแน่ใจว่าลูกน้องเข้าใจจุดประสงค์ของงานและวิธีทำงานที่ถูกต้องเจ้านายต้องบอกจุดมุ่งหมายในการทำงานที่ชัดเจนไม่เช่นนั้นการทำงานก็จะเป็นการทำงานแบบไม่มีที่สิ้นสุดและทำงานน่าเบื่อการตั้งคำถามพนักงานยังเป็นการทดสอบว่าพนักงานมีความรู้ความสามารถมากแค่ไหนอีกด้วย
2.ฟังสิ่งที่ลูกน้องพูด
เจ้านายไม่จำเป็นต้องพูดเสมอบางครั้งเราก็ต้องฟังในสิ่งที่ลูกน้องต้องการพูดด้วยและต้องฟังอย่างตั้งใจเพราะบางครั้งสิ่งที่ลูกน้องพูดอาจจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้งานประสบความสำเร็จลูกน้องอาจจะเล่าถึงปัญหาในการทำงานที่เราไม่เคยรู้มาก่อนเช่นมีเพื่อนร่วมงานที่ทำให้งานล้าช้าแต่ไม่กล้าบอกเจ้านายเพราะพนักงานคนนี้มีเส้นเป็นต้นหรืออาจจะเกิดจากปัญหาที่เจ้านายคาดไม่ถึงเช่นตัวเจ้านายเองไม่มาควบคุมดูแลเลยทำให้ล้าช้าเพราะไม่มีคนมากดดันเป็นต้น
3.ยอมรับลูกน้อง
ใส่ใจความรู้สึกของลูกน้องทุกคนการที่เจ้านายเข้าใจความรู้สึกของลูกน้องทุกคนทำให้สามารถแบ่งงานได้เหมาะสมและดูถูกลูกน้องเพราะลูกน้องแต่ละคนก็มีความสามารถไม่เหมือนกันควรใช้การทำงานที่ลูกน้องคนนั้นถนัดเป็นการตัดสินจึงเป็นสิ่งที่สมควรมากกว่าเมื่อลูกน้องทำงานได้ดีก็ควรให้รางวัลเป็นการตอบแทนเพื่อให้ลูกน้องคนอื่นตั้งใจทำงานมากขึ้น
4.สื่อสารกับลูกน้องให้มาก
ในการทำงานการสื่อสารระหว่างคนที่ทำงานร่วมกันเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะระหว่างเจ้านายกับลูกน้องเพราะถ้าเจ้านายไม่สั่งงานลูกน้องก็จะไม่ทราบว่าต้องทำงานอะไรและเมื่อลูกน้องทำงานผิดพลาดและเจ้านายไม่ว่ากล่าวตักเตือนลูกน้องก็จะไม่ทราบว่าตัวเองทำงานผิดพลาดทำให้เกิดปัญหาต่อไปในอนาคตเพราะฉะนั้นเจ้านายที่ดีต้องสื่อสารกับลูกน้องอยู่เสมอเพื่อให้เกิดความคุ้นชินและกระตุ้นการทำงานของลูกน้องเพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ
5.แก้ไขปัญหาร่วมกัน
การทำงานทุกงานต้องมีปัญหาอย่างแน่นอนเมื่อเกิดปัญหาเจ้านายที่ดีต้องไม่ทิ้งให้ลูกน้องเผชิญปัญหาเพียงลำพังต้องเข้าไปช่วยกันแก้ไขปัญหาซึ่งสิ่งนี้จะทำให้ลูกน้องให้ความเคารพแก่เราเพราะแม้แต่เกิดปัญหาเจ้านายก็ไม่ทิ้งเรา
เหตุผลในการทำงานของแต่ละบุคคล
พนักงานทุกคนล้วนมีเหตุผลที่แตกต่างกันไปในการทำงานเหตุผลที่เราทำงานเพราะเราต้องการสิ่งตอบแทนซึ่งเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้เรามีกำลังใจในการทำงานและยกระดับคุณภาพชีวิตของเราคงไม่มีใครที่ต้องการทำงานและไม่มีสิ่งใดตอบแทนเหตุผลต่อไปนี้คือเหตุผลส่วนใหญ่ที่เราทำงานไปเพื่อสิ่งเหล่านี้
ทำงานเพื่อรายได้
เป็นเหตุผลพื้นฐานที่สำคัญที่สุดที่ทุกคนทำงานก็เพื่อสิ่งนี้ทำงานเพื่อแลกกับเงินที่ใช้ในการดำรงชีวิตถ้าขาดเงินเราก็ไม่สามารถใช้ชีวิตอยู่บนโลกนี้ได้เพราะไม่ว่าเราจะทำอะไรก็ต้องใช้เงินดังนั้นบริษัทจึงต้องให้รายได้และผลประโยชน์ที่พนักงานควรได้รับอย่างยุติธรรมเพื่อให้บริษัทได้ก้าวหน้าต่อไปเมื่อบริษัทยื่นข้อเสนอที่กระตุ้นให้พนักงานอยากทำงานมันจะช่วยให้พนักงานมีแรงใจในการทำงานมากขึ้นหากบริษัทไม่ให้ความยุติธรรมกับพนักงานนั้นจะทำให้บริษัทต้องเสียบุคลากรที่สำคัญไปซึ่งเมื่อเทียบกับการจ่ายเงินให้พนักงานเพิ่มขึ้นกับการที่บริษัทสูญเสียรายได้มหาศาลนั้นเทียบกันไม่ได้เลยแต่เงินไม่ใช้เหตุผลเดียวที่ทำให้พนักงานอยากทำงานซึ่งก็ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลด้วยว่ามีความต้องการอย่างไรซึ่งมีดังต่อไปนี้
-มีอำนานในการตัดสินใจในงานที่ทำ
-ทำงานเพื่อพัฒนาตัวเอง
-ฝึกความเป็นผู้นำ
สิ่งที่ทำให้พนักงานมีแรงกระตุ้นในการทำงาน
บริษัทหลายๆแห่งทำงานอย่างหนักใช้พนักงานเต็มความสามารถแต่จ่ายค่าจ้างไม่คุ้มค่าพนักงานอาจจะต้องให้จ่ายเงินเดือนสูงขึ้นตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเพราะถ้าหน้าที่มากขึ้นแต่เงินเดือนเท่าเดิมก็จะทำให้พนักงานไม่มีแรงใจในการทำงานซึ่งอาจจะส่งผลต่อการทำงานอีกด้วยสิ่งสำคัญที่จะทำให้พนักงานมีแรงใจในการทำงานคือต้องมีแรงกระตุ้นอาจจะมีโบนัสปลายปีหรือขึ้นเงินเดือนให้เพราะสิ่งเหล่านี้จะเป็นตัวที่ทำให้พนักงานทำงานให้เราอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพในการทำงาน
ทำงานเพื่อรายได้
เป็นเหตุผลพื้นฐานที่สำคัญที่สุดที่ทุกคนทำงานก็เพื่อสิ่งนี้ทำงานเพื่อแลกกับเงินที่ใช้ในการดำรงชีวิตถ้าขาดเงินเราก็ไม่สามารถใช้ชีวิตอยู่บนโลกนี้ได้เพราะไม่ว่าเราจะทำอะไรก็ต้องใช้เงินดังนั้นบริษัทจึงต้องให้รายได้และผลประโยชน์ที่พนักงานควรได้รับอย่างยุติธรรมเพื่อให้บริษัทได้ก้าวหน้าต่อไปเมื่อบริษัทยื่นข้อเสนอที่กระตุ้นให้พนักงานอยากทำงานมันจะช่วยให้พนักงานมีแรงใจในการทำงานมากขึ้นหากบริษัทไม่ให้ความยุติธรรมกับพนักงานนั้นจะทำให้บริษัทต้องเสียบุคลากรที่สำคัญไปซึ่งเมื่อเทียบกับการจ่ายเงินให้พนักงานเพิ่มขึ้นกับการที่บริษัทสูญเสียรายได้มหาศาลนั้นเทียบกันไม่ได้เลยแต่เงินไม่ใช้เหตุผลเดียวที่ทำให้พนักงานอยากทำงานซึ่งก็ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลด้วยว่ามีความต้องการอย่างไรซึ่งมีดังต่อไปนี้
-มีอำนานในการตัดสินใจในงานที่ทำ
-ทำงานเพื่อพัฒนาตัวเอง
-ฝึกความเป็นผู้นำ
สิ่งที่ทำให้พนักงานมีแรงกระตุ้นในการทำงาน
บริษัทหลายๆแห่งทำงานอย่างหนักใช้พนักงานเต็มความสามารถแต่จ่ายค่าจ้างไม่คุ้มค่าพนักงานอาจจะต้องให้จ่ายเงินเดือนสูงขึ้นตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเพราะถ้าหน้าที่มากขึ้นแต่เงินเดือนเท่าเดิมก็จะทำให้พนักงานไม่มีแรงใจในการทำงานซึ่งอาจจะส่งผลต่อการทำงานอีกด้วยสิ่งสำคัญที่จะทำให้พนักงานมีแรงใจในการทำงานคือต้องมีแรงกระตุ้นอาจจะมีโบนัสปลายปีหรือขึ้นเงินเดือนให้เพราะสิ่งเหล่านี้จะเป็นตัวที่ทำให้พนักงานทำงานให้เราอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพในการทำงาน
วิธีรับมือเพื่อนร่วมงานที่มีแนวคิดด้านลบในการทำงาน
มีเพื่อนในที่ทำงานอยู่มากที่มีแต่แนวคิดด้านลบในการทำงานเพราะเขาเหล่านั้นมองแต่เรื่องแย่ๆในงานที่ตัวเองทำอยู่เนื่องด้วยสาเหตุหลายๆประการทั้งเกิดจากตัวเขาเองที่ทำงานไปวันๆไม่ได้มีจุดมุ่งหมายอะไรหรือเกิดจากสาเหตุการมีอคติกับบริษัทเหตุผลเช่นนี้เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ในทุกๆบริษัทเราจะสามารถจัดการกับเหตุผลที่คนเหล่านี้คิดขึ้นมาได้อย่างไรมีวิธีดังต่อไปนี้
รับฟังในสิ่งที่เขาพูด
เมื่อเพื่อนร่วมงานของเราบ่นเกี่ยวกับการทำงานเราต้องตั้งใจรับฟังในสิ่งที่เขาพูดจนกว่าคุณรู้สึกว่าเขาพร้อมที่จะฟังเหตุผลที่คุณจะอธิบายให้เขาฟังต้องรอให้เขาพูดในประเด็นที่เขาต้องการพูดให้จบเสียก่อนเพราะบางครั้งเพื่อนร่วมงานก็ต้องคนที่สามารถรับฟังเขาได้ไม่ใช่พอเขาพูดในเรื่องเดิมซ้ำๆและมีแนวคิดในด้านลบออกมาตอบกลับเขาไปก็จะทำให้เพื่อนร่วมงานรู้สึกว่าเขาต้องเผชิญกับปัญหานั้นคนเดียวบางครั้งเราอาจจะใช้วิธีการตั้งคำถามเพื่อให้เข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับเขาและพยายามหาคำตอบของปัญหานั้นเราจำเป็นต้องบอกกับตัวเองเองเสมอว่าต้องตั้งใจรับฟังปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างตั้งใจและรับฟังอยู่เสมอ
ให้ความร่วมมือในสิ่งที่เขาต้องการ
หากเราไตร่ตรองแล้วว่าเพื่อนร่วมงานมีเหตุผลที่ดีพอที่จะมีแนวคิดในด้านลบในการทำงานและเมื่อเราเห็นว่ามันเป็นความจริงเราก็ต้องถามเขาและเข้าไปช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเราอาจจะให้คำแนะนำต่างๆและแนวคิดดีๆที่เป็นประโยชน์ที่เขาไม่เคยมองเห็นหรือได้ยินมาก่อนแต่อย่างไรก็ตามหน้าที่ของเราไม่ใช่ผู้ให้คำปรึกษาตลอดเวลาเราอาจจะให้คำแนะนำที่เป้นประโยชน์เพื่อให้เพื่อนร่วมงานมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่อไปด้วยตัวเองหรือเราอาจจะช่วยหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นและบอกเพื่อนร่วมงานถึงสาเหตุนั้นๆ
บางครั้งเพื่อนร่วมงานก็ต้องการเพียงแค่บ่นหรือพูดออกมาให้คนอื่นๆฟังเพียงเท่านั้นเพราะบางคนก็ไม่ต้องการคำแนะนำหรือไม่ต้องการให้ใครเข้าไปช่วยสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นในกรณีนี้เราทำได้เพียงรับฟังสิ่งที่เขาพูดเท่านั้นและเราไม่จำเป็นที่ต้องรับฟังเขาตลอดเพราะถ้าเราต้องรับฟังเขาทุกวันก็จะทำงานการทำงานของเราเสียไปด้วยและอาจจะทำให้บรรยากาศในการทำงานของเราแย่ลงให้เราบอกเพื่อนร่วมงานไปเลยว่าเราอยากคุยเรื่องที่ไม่เครียดและไม่ส่งผลเสียต่อการทำงาน
เมื่อเรารับฟังเพื่อนร่วมงานใในการพูดแต่แง่ลบและเรารู้ว่าสิ่งที่เข้าพูดนั้นไม่ถูกต้องและไร้ซึ่งเหตุผลเราก็ควรเอามาคิดว่าเราไม่คิดปฏิบัติตามและบอกให้เพื่อนร่วมงานรู้ว่าสิ่งเหล่านั้นไม่ถูกต้องบอกถึงข้อเท็จจริงใช้ความสุภาพในการอธิบายและใช้เหตุผลที่ดีในการอธิบายเพื่อนร่วมงานของคุณก็จะเปลี่ยนทัศนคติในการทำงานจากแง่ลบกลายเป็นแง่บวกโดยให้เราแสดงความเห็นอกเห็นใจและบอกเขาว่าเราเข้าใจความรู้สึกของเขาเป็นอย่างดีและหวังให้เขามีความสุขในการทำงาน
การพูดคุยกับเพื่อนร่วมงานที่แนวคิดในแง่ลบต้องพูดคุยด้วยเหตุผลและใช้ภาษาสุภาพในการพูดคุยหากเราปล่อยให้เป็นแบบนี้ต่อไปจะทำให้สิ่งต่างๆแย่ลงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นคือทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพในการทำงานลดน้อยลง
รับฟังในสิ่งที่เขาพูด
เมื่อเพื่อนร่วมงานของเราบ่นเกี่ยวกับการทำงานเราต้องตั้งใจรับฟังในสิ่งที่เขาพูดจนกว่าคุณรู้สึกว่าเขาพร้อมที่จะฟังเหตุผลที่คุณจะอธิบายให้เขาฟังต้องรอให้เขาพูดในประเด็นที่เขาต้องการพูดให้จบเสียก่อนเพราะบางครั้งเพื่อนร่วมงานก็ต้องคนที่สามารถรับฟังเขาได้ไม่ใช่พอเขาพูดในเรื่องเดิมซ้ำๆและมีแนวคิดในด้านลบออกมาตอบกลับเขาไปก็จะทำให้เพื่อนร่วมงานรู้สึกว่าเขาต้องเผชิญกับปัญหานั้นคนเดียวบางครั้งเราอาจจะใช้วิธีการตั้งคำถามเพื่อให้เข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับเขาและพยายามหาคำตอบของปัญหานั้นเราจำเป็นต้องบอกกับตัวเองเองเสมอว่าต้องตั้งใจรับฟังปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างตั้งใจและรับฟังอยู่เสมอ
ให้ความร่วมมือในสิ่งที่เขาต้องการ
หากเราไตร่ตรองแล้วว่าเพื่อนร่วมงานมีเหตุผลที่ดีพอที่จะมีแนวคิดในด้านลบในการทำงานและเมื่อเราเห็นว่ามันเป็นความจริงเราก็ต้องถามเขาและเข้าไปช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเราอาจจะให้คำแนะนำต่างๆและแนวคิดดีๆที่เป็นประโยชน์ที่เขาไม่เคยมองเห็นหรือได้ยินมาก่อนแต่อย่างไรก็ตามหน้าที่ของเราไม่ใช่ผู้ให้คำปรึกษาตลอดเวลาเราอาจจะให้คำแนะนำที่เป้นประโยชน์เพื่อให้เพื่อนร่วมงานมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่อไปด้วยตัวเองหรือเราอาจจะช่วยหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นและบอกเพื่อนร่วมงานถึงสาเหตุนั้นๆ
บางครั้งเพื่อนร่วมงานก็ต้องการเพียงแค่บ่นหรือพูดออกมาให้คนอื่นๆฟังเพียงเท่านั้นเพราะบางคนก็ไม่ต้องการคำแนะนำหรือไม่ต้องการให้ใครเข้าไปช่วยสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นในกรณีนี้เราทำได้เพียงรับฟังสิ่งที่เขาพูดเท่านั้นและเราไม่จำเป็นที่ต้องรับฟังเขาตลอดเพราะถ้าเราต้องรับฟังเขาทุกวันก็จะทำงานการทำงานของเราเสียไปด้วยและอาจจะทำให้บรรยากาศในการทำงานของเราแย่ลงให้เราบอกเพื่อนร่วมงานไปเลยว่าเราอยากคุยเรื่องที่ไม่เครียดและไม่ส่งผลเสียต่อการทำงาน
เมื่อเรารับฟังเพื่อนร่วมงานใในการพูดแต่แง่ลบและเรารู้ว่าสิ่งที่เข้าพูดนั้นไม่ถูกต้องและไร้ซึ่งเหตุผลเราก็ควรเอามาคิดว่าเราไม่คิดปฏิบัติตามและบอกให้เพื่อนร่วมงานรู้ว่าสิ่งเหล่านั้นไม่ถูกต้องบอกถึงข้อเท็จจริงใช้ความสุภาพในการอธิบายและใช้เหตุผลที่ดีในการอธิบายเพื่อนร่วมงานของคุณก็จะเปลี่ยนทัศนคติในการทำงานจากแง่ลบกลายเป็นแง่บวกโดยให้เราแสดงความเห็นอกเห็นใจและบอกเขาว่าเราเข้าใจความรู้สึกของเขาเป็นอย่างดีและหวังให้เขามีความสุขในการทำงาน
การพูดคุยกับเพื่อนร่วมงานที่แนวคิดในแง่ลบต้องพูดคุยด้วยเหตุผลและใช้ภาษาสุภาพในการพูดคุยหากเราปล่อยให้เป็นแบบนี้ต่อไปจะทำให้สิ่งต่างๆแย่ลงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นคือทำให้องค์กรมีประสิทธิภาพในการทำงานลดน้อยลง
เทคนิคช่วยให้เราทำงานได้มีประสิทธิภาพในแต่ละวัน
ในระหว่างที่เราทำงานเราก็จะรู้สึกว่าเราง่วงหรือไม่มีแรงใจในการทำงานซึ่งนั้นส่งผลให้การทำงานของเราด้อยประสิทธิภาพลงการที่มีอะไรมาช่วยให้การทำงานของเรามีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นนั้นเป็นสิ่งที่ดีเพราะในการทำงานถ้าขาดประสิทธิภาพแล้วงานที่ได้ออกมานั้นก็จะไม่ดีเท่าที่ควรแต่ละคนก็มีเทคนิคในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานต่างๆกันบางคนอาจจะกินกาแฟหรือทำสิ่งที่ตัวเองชอบในระหว่างทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานในบทความนี้เราจะมาบอกเทคนิคที่ช่วยให้เราทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในแต่ละวัน
เทคนิคช่วยให้เราทำงานได้มีประสิทธิภาพในแต่ละวัน
1.จัดโต๊ะทำงานของเราให้ดูสะอาดเรียบร้อย
2.ตรวจสอบอีเมล์เมื่อเราเริ่มต้นทำงานในตอนเช้า
3.จัดอันดับความสำคัญของงานแต่ละงาน
4.ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นเราต้องแบ่งแยกงานที่เราสามารถทำเองได้และต้องให้ผู้อื่นช่วยเหลือ
5.ทำงานแต่ละงานให้เสร็จเป็นอย่างๆก่อนที่จะเริ่มทำงานชิ้นใหม่ก็ต้องตรวจสอบงานชิ้นที่ทำอยู่ว่ามีข้อผิดพลาดอะไรหรือไม่
6.ใช้การเก็บข้อมูลบนคอมพิวเตอร์แทนการใช้กระดาษเพื่อความสะดวกรวดเร็วและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
7.วางแผนการทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานเพื่อให้งานเสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด
8.จัดการเวลาในการทำงานแต่ละอย่างให้เป็นระบบเพื่อความรวดเร็วในการทำงาน
9.หาเวลาพักเมื่อเรารู้สึกเหนื่อยล้าอาจจะลุกขึ้นยืนหรือมองไปรอบๆเพื่อให้ร่างกายได้พักผ่อน
10.ก่อนเลิกงานเราก็ต้องจัดโต๊ะให้เรียบร้อยและจดบันทึกว่าพรุ่งนี้ต้องทำอะไรเพื่อให้ไม่ลืม
เทคนิคช่วยให้เราทำงานได้มีประสิทธิภาพในแต่ละวัน
1.จัดโต๊ะทำงานของเราให้ดูสะอาดเรียบร้อย
2.ตรวจสอบอีเมล์เมื่อเราเริ่มต้นทำงานในตอนเช้า
3.จัดอันดับความสำคัญของงานแต่ละงาน
4.ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นเราต้องแบ่งแยกงานที่เราสามารถทำเองได้และต้องให้ผู้อื่นช่วยเหลือ
5.ทำงานแต่ละงานให้เสร็จเป็นอย่างๆก่อนที่จะเริ่มทำงานชิ้นใหม่ก็ต้องตรวจสอบงานชิ้นที่ทำอยู่ว่ามีข้อผิดพลาดอะไรหรือไม่
6.ใช้การเก็บข้อมูลบนคอมพิวเตอร์แทนการใช้กระดาษเพื่อความสะดวกรวดเร็วและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
7.วางแผนการทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานเพื่อให้งานเสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด
8.จัดการเวลาในการทำงานแต่ละอย่างให้เป็นระบบเพื่อความรวดเร็วในการทำงาน
9.หาเวลาพักเมื่อเรารู้สึกเหนื่อยล้าอาจจะลุกขึ้นยืนหรือมองไปรอบๆเพื่อให้ร่างกายได้พักผ่อน
10.ก่อนเลิกงานเราก็ต้องจัดโต๊ะให้เรียบร้อยและจดบันทึกว่าพรุ่งนี้ต้องทำอะไรเพื่อให้ไม่ลืม
จัดการกับเพื่อนร่วมงานที่มีบุคลิกต่างๆกันไปอย่างไร
ในการทำงานเราจะพบเจอกับเพื่อนร่วมงานที่แตกต่างกันไปถ้าโชคดีเราก็จะเจอเพื่อนร่วมงานที่ไม่ทำให้เราเครียดในการทำงานร่วมกันแต่ถ้าเกิดโชคร้ายเจอเพื่อนร่วมงานที่นิสัยไม่ดีหรือทำให้คนรอบข้างเกิดความเครียดในการทำงานละเราจะทำอย่างไรเพื่อเป็นการจัดการกับปัญหาเหล่านี้โดยไม่ให้เกิดผลเสียตามมาในภายหลังซึ่งส่วนใหญ่เราจะพบแต่เพื่อนร่วมงานที่ดีแต่ถ้าเกิดโชคไม่ดีเจอเพื่อนร่วมงานแย่ๆเราจะทำอย่างไรในบทความนี้เราจะมาบอกลักษณะของเพื่อนรวมงานที่ทำให้ให้เกิดความเครียดในการทำงานและวิธีจัดการกับคนเหล่านั้นซึ่งมีดังนี้
เพื่อนร่วมงานที่ทำให้การทำงานของเรานั้นทำงานได้อย่างไม่ปกติสุขมีดังนี้
1.ผู้ช่วยเหลือเพื่อให้ตัวเองได้หน้า
2.พวกอ่อนแอในการทำสิ่งต่างๆ
3.คิดว่าตัวเองยิ่งใหญ่และสามารถทำอะไรก็ได้
1.ผู้ช่วยเหลือเพื่อให้ตัวเองได้หน้า
เพื่อนร่วมงานประเภทนี้จะเป็นพวกที่ต้องการให้ความช่วยเหลือผู้อื่นอยู่เสมอซึ่งถ้ามองปกติจะถือว่าเป็นเรื่องที่ดีที่เรามีเพื่อนร่วมงานที่คอยช่วยเหลือเราแค่ถ้าเรามองให้ลึกๆแล้วเพื่อนร่วมงานประเภทน้ช่วยเหลือเราเพราะหวังสิ่งตอบแทนซึ่งบางครั้งถึงกับเข้ามาก้าวก่ายกับงานของคนอื่นๆเพราะตัวเองต้องการได้หน้าหรือเรียกอีกอย่างว่าเป็นคนประเภททำงานเอาหน้าเพื่อให้ตัวเองมีผลงานซึ่งคนประเภทนี้จัดการได้ไม่ยากเพียงแค่เราบอกให้เขาไปทำงานของเขาและเราจะทำงานของเราเองเพราะเราต้องมองดูว่าถ้าเขาสามารถทำงานเก่งจริงเจ้านายก็คงให้ทำงานที่ใหญ่ๆไปแล้ว
2.พวกอ่อนแอในการทำสิ่งต่างๆ
คนประเภทนี้เป็นพวกประเภทหนักไม่เอาเบาไม่สู้ จะทำงานที่ตัวเองได้ผลประโยชน์และสบายอยู่คนเดียวซึ่งส่งผลเสียเมื่อต้องทำงานเป็นทีมเพราะคนเหล่านี้เมื่อได้รับมอบหมายงานแล้วจะขาดความรับผิดชอบในการทำงานให้เต็มที่จะพูดอยู่ตลอดว่างานของตัวเองมากและหนักจนไม่สามารถทำงานเพื่อทีมได้วิธีจัดการกับคนเหล่านี้เมื่อเขาต้องการความช่วยเหลือเราต้องบอกเขาไปว่าในเมื่อคุณไม่เคยช่วยเหลือก็อย่าหวังว่าจะได้รับความช่วยเหลือจากใคร
3.คิดว่าตัวเองยิ่งใหญ่และสามารถทำอะไรก็ได้
เพื่อนร่วมงานประเภทนี้เป็นเพื่อนร่วมงานที่เราไม่อยากเจอมากที่สุดเพราะจะทำให้เกิดความเครียดในการทำงานเนื่องจากชอบออกคำสั่งผู้อื่นแม้ว่าตัวเองก็ไม่ได้เป็นหัวหน้าแต่ชอบทำตัวเหมือนหัวหน้าคนที่สองชอบรายงานการทำงานของเพื่อนร่วมงานให้หัวหน้าฟังอยู่เสมอวิธีจัดการกับคนแบบนี้คือไม่ต้องไปสนใจเพราะยิ่งเราสนใจก็จะทำให้ได้ใจและทำอีก
เพื่อนร่วมงานที่ทำให้การทำงานของเรานั้นทำงานได้อย่างไม่ปกติสุขมีดังนี้
1.ผู้ช่วยเหลือเพื่อให้ตัวเองได้หน้า
2.พวกอ่อนแอในการทำสิ่งต่างๆ
3.คิดว่าตัวเองยิ่งใหญ่และสามารถทำอะไรก็ได้
1.ผู้ช่วยเหลือเพื่อให้ตัวเองได้หน้า
เพื่อนร่วมงานประเภทนี้จะเป็นพวกที่ต้องการให้ความช่วยเหลือผู้อื่นอยู่เสมอซึ่งถ้ามองปกติจะถือว่าเป็นเรื่องที่ดีที่เรามีเพื่อนร่วมงานที่คอยช่วยเหลือเราแค่ถ้าเรามองให้ลึกๆแล้วเพื่อนร่วมงานประเภทน้ช่วยเหลือเราเพราะหวังสิ่งตอบแทนซึ่งบางครั้งถึงกับเข้ามาก้าวก่ายกับงานของคนอื่นๆเพราะตัวเองต้องการได้หน้าหรือเรียกอีกอย่างว่าเป็นคนประเภททำงานเอาหน้าเพื่อให้ตัวเองมีผลงานซึ่งคนประเภทนี้จัดการได้ไม่ยากเพียงแค่เราบอกให้เขาไปทำงานของเขาและเราจะทำงานของเราเองเพราะเราต้องมองดูว่าถ้าเขาสามารถทำงานเก่งจริงเจ้านายก็คงให้ทำงานที่ใหญ่ๆไปแล้ว
2.พวกอ่อนแอในการทำสิ่งต่างๆ
คนประเภทนี้เป็นพวกประเภทหนักไม่เอาเบาไม่สู้ จะทำงานที่ตัวเองได้ผลประโยชน์และสบายอยู่คนเดียวซึ่งส่งผลเสียเมื่อต้องทำงานเป็นทีมเพราะคนเหล่านี้เมื่อได้รับมอบหมายงานแล้วจะขาดความรับผิดชอบในการทำงานให้เต็มที่จะพูดอยู่ตลอดว่างานของตัวเองมากและหนักจนไม่สามารถทำงานเพื่อทีมได้วิธีจัดการกับคนเหล่านี้เมื่อเขาต้องการความช่วยเหลือเราต้องบอกเขาไปว่าในเมื่อคุณไม่เคยช่วยเหลือก็อย่าหวังว่าจะได้รับความช่วยเหลือจากใคร
3.คิดว่าตัวเองยิ่งใหญ่และสามารถทำอะไรก็ได้
เพื่อนร่วมงานประเภทนี้เป็นเพื่อนร่วมงานที่เราไม่อยากเจอมากที่สุดเพราะจะทำให้เกิดความเครียดในการทำงานเนื่องจากชอบออกคำสั่งผู้อื่นแม้ว่าตัวเองก็ไม่ได้เป็นหัวหน้าแต่ชอบทำตัวเหมือนหัวหน้าคนที่สองชอบรายงานการทำงานของเพื่อนร่วมงานให้หัวหน้าฟังอยู่เสมอวิธีจัดการกับคนแบบนี้คือไม่ต้องไปสนใจเพราะยิ่งเราสนใจก็จะทำให้ได้ใจและทำอีก
ทำงานเป็นทีม ทำให้องค์กรก้าวหน้าอย่างไร
ในบริษัทไหนๆก็ตามไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ ในการทำงานอะไรก็ตามไม่ว่าเล็กหรือใหญ่การทำงานเป็นทีมเป็นสิ่งที่สำคัญที่จะทำให้บริษัทก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็วการทำงานเป็นทีมยังช่วยให้บรรยากาศในการทำงานเต็มไปด้วยความสนุกเพราะต่างคนต่างช่วยเหลือซึ่งกันและกันทำให้เกิดมิตรภาพในการทำงานที่ดีในวันนี้เราจะมาบอกเหตุผลที่การทำงานเป็นทีมช่วยให้องค์กรก้าวหน้าได้อย่างไรซึ่งมีดังนี้
ทำงานเป็นทีม ทำให้องค์กรก้าวหน้าอย่างไร
-การทำงานเป็นทีมทำให้การทำงานมีจุดมุ่งหมายในการทำงานมีวิสัยทัศน์ในการทำงานในทางเดียวกัน
พนักงานจะมองถึงสิ่งที่ได้รับร่วมกันมากกว่าการมองเฉพาะงานที่ทำอยู่
-การทำงานเป็นทีมทำให้จัดอันดับความสำคัญของแต่ละงานและแบ่งสรรงานให้แต่ะคนได้ง่ายซึ่งช่วย
ให้การทำงานสะดวกขึ้น
เพราะว่าพนักงานตกลงกันไว้ และมีเป้าหมายและจุดมุ่งหมายเดียวกัน
-การทำงานเป็นทีมทำให้สมาชิกเชื่อว่าการทำงานต้องใช้ความร่วมมือระหว่างสมาชิกในทีมและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
มีความเชื่อในการทำงานเหมือนกันทำให้งานที่ออกมามีคุณภาพ
-การทำงานเป็นทีมช่วยให้เกิดการระดมความคิดทำให้การทำงานนั้นเกิดความสุขเพราะได้เป็นส่วนหนึ่งในทีม
พนักงานจะกระตุ้นตัวเองอัตโนมัติเพราะคิดว่าเราไม่ได้งานเพื่อตัวเองคนเดียวแต่ทำงานเพื่อส่วนรวมเลยต้องรับผิดชอบงานให้มากขึ้น
-การทำงานเป็นทีมทำให้สมาชิกในทีมมีความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น
ทำให้เกิดความร่วมมือมากขึ้นต่อจุดมุ่งหมายที่สร้างร่วมกัน
-การทำงานเป็นทีมทำให้รู้คุณค่าของผลประโยชน์ที่ได้รับจาการทำงานเป็นทีม
การทำงานร่วมกันทำให้พนักงานแต่บะคนได้พัฒนาตัวเองและทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ
-การทำงานเป็นทีมสามารถแสดงความคิดเหตุและรับฟังความเห็นของผู้อื่นได้ในมุมมองงของแต่ละบุคคล
พนักงานจะภูมิใจที่ได้แสดงความคิดเห็นเพราะทุกคนมีอิสระในการออกความเห็นในเรื่องต่างๆ
-การทำงานเป็นทีมเป็นการประเมินอย่างหนึ่งที่ทำให้องค์ก้าวหน้า
ทำงานเป็นทีมทำให้พนักงานมีความสามารถในการทำงานเพิ่มขึ้นส่งผลให้องค์กรก้าวหน้าได้รวดเร็ว
การทำงานเป็นทีมเป็นตัวที่บอกได้ว่าบริษัทนั้นจะมีความก้าวหน้ามากแค่ไหนยกตัวอย่างบริษัทใหญ่ๆของต่างประเทศจะให้ความสำคัญกับการทำงานเป็นทีมอย่างมากเพราะเขาคิดว่าการทำงานเป็นทีมนั้นยิ่งทำให้เกิดการแสดงความคิดเห็นในหลายๆอย่างซึ่งบางครั้งคนที่เป็นหัวหน้าก็ยังคิดไม่ออกซึ่งมีข้อพิสูจน์อยู่หลายๆข้อที่บอกว่าไอเดียดีๆนั้นเกิดจากความคิดที่ง่ายที่สุดหรือจากคนที่ไม่สำคัญที่สุดกลายเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุด
ทำงานเป็นทีม ทำให้องค์กรก้าวหน้าอย่างไร
-การทำงานเป็นทีมทำให้การทำงานมีจุดมุ่งหมายในการทำงานมีวิสัยทัศน์ในการทำงานในทางเดียวกัน
พนักงานจะมองถึงสิ่งที่ได้รับร่วมกันมากกว่าการมองเฉพาะงานที่ทำอยู่
-การทำงานเป็นทีมทำให้จัดอันดับความสำคัญของแต่ละงานและแบ่งสรรงานให้แต่ะคนได้ง่ายซึ่งช่วย
ให้การทำงานสะดวกขึ้น
เพราะว่าพนักงานตกลงกันไว้ และมีเป้าหมายและจุดมุ่งหมายเดียวกัน
-การทำงานเป็นทีมทำให้สมาชิกเชื่อว่าการทำงานต้องใช้ความร่วมมือระหว่างสมาชิกในทีมและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
มีความเชื่อในการทำงานเหมือนกันทำให้งานที่ออกมามีคุณภาพ
-การทำงานเป็นทีมช่วยให้เกิดการระดมความคิดทำให้การทำงานนั้นเกิดความสุขเพราะได้เป็นส่วนหนึ่งในทีม
พนักงานจะกระตุ้นตัวเองอัตโนมัติเพราะคิดว่าเราไม่ได้งานเพื่อตัวเองคนเดียวแต่ทำงานเพื่อส่วนรวมเลยต้องรับผิดชอบงานให้มากขึ้น
-การทำงานเป็นทีมทำให้สมาชิกในทีมมีความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น
ทำให้เกิดความร่วมมือมากขึ้นต่อจุดมุ่งหมายที่สร้างร่วมกัน
-การทำงานเป็นทีมทำให้รู้คุณค่าของผลประโยชน์ที่ได้รับจาการทำงานเป็นทีม
การทำงานร่วมกันทำให้พนักงานแต่บะคนได้พัฒนาตัวเองและทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ
-การทำงานเป็นทีมสามารถแสดงความคิดเหตุและรับฟังความเห็นของผู้อื่นได้ในมุมมองงของแต่ละบุคคล
พนักงานจะภูมิใจที่ได้แสดงความคิดเห็นเพราะทุกคนมีอิสระในการออกความเห็นในเรื่องต่างๆ
-การทำงานเป็นทีมเป็นการประเมินอย่างหนึ่งที่ทำให้องค์ก้าวหน้า
ทำงานเป็นทีมทำให้พนักงานมีความสามารถในการทำงานเพิ่มขึ้นส่งผลให้องค์กรก้าวหน้าได้รวดเร็ว
การทำงานเป็นทีมเป็นตัวที่บอกได้ว่าบริษัทนั้นจะมีความก้าวหน้ามากแค่ไหนยกตัวอย่างบริษัทใหญ่ๆของต่างประเทศจะให้ความสำคัญกับการทำงานเป็นทีมอย่างมากเพราะเขาคิดว่าการทำงานเป็นทีมนั้นยิ่งทำให้เกิดการแสดงความคิดเห็นในหลายๆอย่างซึ่งบางครั้งคนที่เป็นหัวหน้าก็ยังคิดไม่ออกซึ่งมีข้อพิสูจน์อยู่หลายๆข้อที่บอกว่าไอเดียดีๆนั้นเกิดจากความคิดที่ง่ายที่สุดหรือจากคนที่ไม่สำคัญที่สุดกลายเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุด
ประกอบอาชีพอิสระนั้นดีอย่างไร
อาชีพบนโลกนี้มีอยู่มากมายแต่ใครๆก็คงไม่อยากเป็นลูกน้องคนอื่นตลอดไปอาชีพอิสระจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ทำให้คนที่ต้องมีอาชีพที่ไม่ต้องรับคำสั่งจากใครมาทำแต่การที่จะมีอาชีพอิสระนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายๆต้องมีความพร้อมในหลายๆอย่างทั้งการเงินทุนและความเป็นผู้นำอีกทั้งยังต้องมีความรับผิดชอบสูง
อาชีพอิสระสามารถทำได้รายได้ได้ดีกว่าทำงานประจำอย่างแน่นอน
1.เป็นเจ้านายตัวเอง
2.สามารถกำหนดการทำงานเอง
3.รับผิดชอบงานทั้งหมด
4.สามารถตัดสินใจเรื่องต่างๆด้วยตัวเองได้
5.รายได้ดี
คุณสมบัติที่สำคัญสำหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพอิสระ
1.กล้าได้กล้าเสีย
2.มีความคิดแปลกใหม่
3.มีความเชื่อมั่น
4.อดทน
5.มีวินัย
6.ทัศนคติที่ดี
7.มีความรู้
8.มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
9.มีความซื่อสัตย์
10.มีความรู้พื้นฐานการทำธุรกิจ
ปัจจัยที่จำเป็นในการประกอบอาชีพอิสระ
1.เงินทุน
2.ความรู้
3.ความสามารถในการจัดการบุคคล
4.ความคิดในเรื่องการตลาด
การประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายเพียงแค่ว่าเราต้องมีความตั้งใจและความมุ่งมั่นที่สำคัญต้องมีวินัยไม่ว่าจะเจออุปสรรคมากแค่ไหนเราก็ต้องอดทนและฝ่าฟันมันไปให้ได้
อาชีพอิสระสามารถทำได้รายได้ได้ดีกว่าทำงานประจำอย่างแน่นอน
1.เป็นเจ้านายตัวเอง
2.สามารถกำหนดการทำงานเอง
3.รับผิดชอบงานทั้งหมด
4.สามารถตัดสินใจเรื่องต่างๆด้วยตัวเองได้
5.รายได้ดี
คุณสมบัติที่สำคัญสำหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพอิสระ
1.กล้าได้กล้าเสีย
2.มีความคิดแปลกใหม่
3.มีความเชื่อมั่น
4.อดทน
5.มีวินัย
6.ทัศนคติที่ดี
7.มีความรู้
8.มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
9.มีความซื่อสัตย์
10.มีความรู้พื้นฐานการทำธุรกิจ
ปัจจัยที่จำเป็นในการประกอบอาชีพอิสระ
1.เงินทุน
2.ความรู้
3.ความสามารถในการจัดการบุคคล
4.ความคิดในเรื่องการตลาด
การประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายเพียงแค่ว่าเราต้องมีความตั้งใจและความมุ่งมั่นที่สำคัญต้องมีวินัยไม่ว่าจะเจออุปสรรคมากแค่ไหนเราก็ต้องอดทนและฝ่าฟันมันไปให้ได้
เหตุผลที่เราจำเป็นต้องเปลี่ยนงานใหม่
เมื่อเราทำงานไปเรื่อยๆเราก็จะรู้สึกเบื่อหน่ายกับงานที่ทำอยู่ซึ่งเป้นเรื่องปกติเมื่อเราทำอะไรนานๆเข้าเราก็จะเบื่อสิ่งนั้นแต่เราก็ยังมีภาระอยู่จึงไม่สามารถเปลี่ยนงานใหม่ได้ทันทีทั้งการ ผ่อนรถ ผ่อนบ้าน จ่ายค่าอะไรสารพัดการเปลี่ยนงานใหม่จึงไม่ใช่เรื่องงานสำหรับใครหลายคนในบทความนี้เราจะมาหาเหตุผลที่สมควรที่คุณควรจะเปลี่ยนงานใหม่เพื่อให้ได้ชีวิตที่ดีกว่ากัน
เหตุผลที่เราจำเป็นต้องเปลี่ยนงานใหม่
1.เปลี่ยนงานเพื่อลดความเครียดที่เรามีอยู่
จากผลสำรวจพบว่าเกินกว่า60เปอร์เซ็นต์ของพนักงานเกิดความเครียดเนื่องด้วยเพื่อนร่วมงานไม่ใช่จากงานที่ทำถ้าเรามีเพื่อนร่วมงานที่ไม่ดีแล้วละก็ควรเปลี่ยนงานใหม่ได้แล้ว
2.เปลี่ยนงานเพื่อความก้าวหน้าของตัวเอง
จากการสอบถาม HR พบว่าส่วนใหญ่พนักงานที่ทำงานอยู่ที่บริษัทจะมีโอกาสในการได้รับการเลื่อนตำแหน่งยากเพราะ HR จะหาคนที่โดดเด่นจากการสมัครงานเข้ามาใหม่เสียมากกว่าเพราะฉะนั้นถ้าเราต้องการความก้าวหน้าก็ควรเก็บเกี่ยวประสบการณ์เยอะๆและเปลี่ยนงานซะ
3.เปลี่ยนงานเพื่อเงินเดือนที่เพิ่มขึ้น
นี้ถือว่าเป็นเรื่องปกติสำหรับคนทำงานที่ต้องการเงินเดือนเพิ่มขึ้นคงไม่มีใครอยากได้เงินเดือนเท่าเดิมทุกปีซึ่งขึ้นอยู่กับนายจ้างเป็นสำคัญว่าจะให้เงินเดือนเราเพิ่มกี่เปอร์เซ็นต์โดยที่เราก็ต้องทำงานให้ดีอีกด้วยจึงเป็นสาเหตุสำคัญที่การเปลี่ยนงานจะทำให้ได้เงินเดือนเพิ่มมากกว่าอยู่ที่ทำงานเก่านานๆ
4.เปลี่ยนงานเพื่อผลประโยชน์ที่ได้รับ
คนจำนวนมากที่มองว่าเงินเดือนไม่ใช่สิ่งที่สำคัญที่สุด แต่มองว่าสวัสดิการและโบนัสประจำปีนั้นสำคัญกว่าจึงทำให้พยายามหางานใหม่ที่มี สวัสดิการดีๆแต่เงินเดือนอาจะไม่มาก
5.เปลี่ยนงานเพื่อให้เรามีเวลาใช้ชีวิตมากขึ้น
เมื่อเราทำงานไปเรื่อยๆเราก็จะรู้ว่าการทำงานมีหลายๆปัจจัยทั้งเวลาในการทำงานมากเกินไปทำให้เวลาที่ต้องให้ครอบครัวนั้นน้อยลงจึงทำให้บางคนถึงกับยอมเงินเดือนน้อยลงเพื่อให้มีเวลากับครอบครัวและตัวเองมากขึ้น
เหตุผลข้างต้นเป็นเหตุผลที่คนเปลี่ยนงานส่วนใหญ่นั้นคิดกันบางคนอาจจะมีเหตุผลส่วนตัวที่เปลี่ยนงานซึ่งก็ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลว่ามีเหตุผลอะไรบางทีเราก็ต้องมองตัวเองว่าเราต้องการจะทำงานที่เดิมๆไปตลอดหรืออยากออกไปหาสิ่งใหม่ๆและดีกว่าทำ
เหตุผลที่เราจำเป็นต้องเปลี่ยนงานใหม่
1.เปลี่ยนงานเพื่อลดความเครียดที่เรามีอยู่
จากผลสำรวจพบว่าเกินกว่า60เปอร์เซ็นต์ของพนักงานเกิดความเครียดเนื่องด้วยเพื่อนร่วมงานไม่ใช่จากงานที่ทำถ้าเรามีเพื่อนร่วมงานที่ไม่ดีแล้วละก็ควรเปลี่ยนงานใหม่ได้แล้ว
2.เปลี่ยนงานเพื่อความก้าวหน้าของตัวเอง
จากการสอบถาม HR พบว่าส่วนใหญ่พนักงานที่ทำงานอยู่ที่บริษัทจะมีโอกาสในการได้รับการเลื่อนตำแหน่งยากเพราะ HR จะหาคนที่โดดเด่นจากการสมัครงานเข้ามาใหม่เสียมากกว่าเพราะฉะนั้นถ้าเราต้องการความก้าวหน้าก็ควรเก็บเกี่ยวประสบการณ์เยอะๆและเปลี่ยนงานซะ
3.เปลี่ยนงานเพื่อเงินเดือนที่เพิ่มขึ้น
นี้ถือว่าเป็นเรื่องปกติสำหรับคนทำงานที่ต้องการเงินเดือนเพิ่มขึ้นคงไม่มีใครอยากได้เงินเดือนเท่าเดิมทุกปีซึ่งขึ้นอยู่กับนายจ้างเป็นสำคัญว่าจะให้เงินเดือนเราเพิ่มกี่เปอร์เซ็นต์โดยที่เราก็ต้องทำงานให้ดีอีกด้วยจึงเป็นสาเหตุสำคัญที่การเปลี่ยนงานจะทำให้ได้เงินเดือนเพิ่มมากกว่าอยู่ที่ทำงานเก่านานๆ
4.เปลี่ยนงานเพื่อผลประโยชน์ที่ได้รับ
คนจำนวนมากที่มองว่าเงินเดือนไม่ใช่สิ่งที่สำคัญที่สุด แต่มองว่าสวัสดิการและโบนัสประจำปีนั้นสำคัญกว่าจึงทำให้พยายามหางานใหม่ที่มี สวัสดิการดีๆแต่เงินเดือนอาจะไม่มาก
5.เปลี่ยนงานเพื่อให้เรามีเวลาใช้ชีวิตมากขึ้น
เมื่อเราทำงานไปเรื่อยๆเราก็จะรู้ว่าการทำงานมีหลายๆปัจจัยทั้งเวลาในการทำงานมากเกินไปทำให้เวลาที่ต้องให้ครอบครัวนั้นน้อยลงจึงทำให้บางคนถึงกับยอมเงินเดือนน้อยลงเพื่อให้มีเวลากับครอบครัวและตัวเองมากขึ้น
เหตุผลข้างต้นเป็นเหตุผลที่คนเปลี่ยนงานส่วนใหญ่นั้นคิดกันบางคนอาจจะมีเหตุผลส่วนตัวที่เปลี่ยนงานซึ่งก็ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลว่ามีเหตุผลอะไรบางทีเราก็ต้องมองตัวเองว่าเราต้องการจะทำงานที่เดิมๆไปตลอดหรืออยากออกไปหาสิ่งใหม่ๆและดีกว่าทำ
ทำงานอย่างไรให้มีความสุข
ปัจจุบันการทำงานเต็มไปด้วยความเครียดและแรงกดดันทั้งจากงานที่ทำอยู่เพื่อนร่วมงานเจ้านายและภาระส่วนตัวต่างๆทำให้การทำงานเต็มไปด้วยความเครียดซึ่งส่งผลให้เราทำงานได้ไม่ดีเท่าที่ควร
ความเครียดเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้การทำงานนั้นล้มเหลวเพราะว่าเมื่อเราเครียดจะส่งผลต่อการรับรู้ความคิดความอ่านที่ทำให้การทำงานนั้นด้อยประสิทธิภาพลงเมื่อการทำงานด้อยประสิทธิภาพลงก็ส่งผลให้งานที่ได้ออกมานั้นไม่ตรงตามความต้องการที่เรามุ่งหวังเอาไว้
ปัจจัยอีกอย่างหนึ่งที่ทำให้การทำงานนั้นด้อยประสิทธิภาพลงนั้นก็คือ
-แรงกดดันทั้งจากงานที่ทำอยู่ซึ่งก็คือการถูกใช้งานที่หนักจนเกินไปหรือให้เราทำงานที่ต้องทำเป็นทีมแต่ให้เราทำคนเดียว
-แรงกดดันจากเพื่อนร่วมงานซึ่งก็คือการแข่งขันกันเองภายในบริษัทการนินทาลับหลังเมื่อเราเข้าหาเจ้านายและการถูกตำหนิเมื่อทำให้เพื่อนร่วมงานต้องโดนตำหนิไปด้วย
-แรงกดดันจากเจ้านายซึ่งก็คือการให้งานอย่างไม่มีเหตุผลและไม่มีผลตอบแทนที่เหมาะสมเช่นบอกลูกน้องว่าถ้างานนี้สำเร็จจะเพิ่มโบนัสปลายปีแต่สุดท้ายก็ไม่เพิ่มให้การทำงานเอาหน้าทั้งๆที่เจ้านายไม่ได้ทำอะไรเลยใช้ลูกน้องทำงานอย่างเดียวซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ทำให้เกิดความเครียดในการทำงานซึ่งส่งผลต่องานที่เรากำลังทำอยู่
ในบทความนี้เราจะมาพูดถึงการทำงานอย่างไรให้มีความสุข ซึ่งมีดังต่อไปนี้
ทำงานอย่างไรให้มีความสุข
-มีความสุขในการทำงาน
อยู่ที่เราว่าเราจะเลือกมองว่าการทำงานนั้นทำให้เราเครียดหรือมีความสุขเพราะการทำงานมันก็ต้องมีทั้งสองด้านทั้งความเครียดและความสุขถ้าเราเลือกที่จะลืมด้านเครียดไปเราก้จะทำงานอย่างมีความสุข
-ทำสิ่งที่เรารัก
เมื่อเราเจอเรื่องเครียดๆเราอาจจะหาเวลาทำสิ่งที่เราชอบเราสนใจเพื่อให้ความเครียดนั้นผ่อนคายลงเช่นเมื่อเราต้องทำงานหนักและอดนอนเราอาจจะใช้เวลาช่วงหนึ่งในการไปดูหนังที่เราชอบเพื่อการผ่อนคลายเป็นต้น
-พัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
ในการทำงานเมื่อเรารู้สึกเบื่อๆหรือไม่รู้ว่าจะทำอะไรเราอาจจะลองหยิบงานใหม่ๆขึ้นมาทำเพื่อให้ตัวเองได้พัฒนาความสามารถเพิ่มเติมขึ้นซึ่งจะทำให้เรารู้สึกตื่นเต้นที่ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
-มีความรับผิดชอบ
เมื่อเราทำงานและได้รับมอบหมายงานมาเราก็ต้องทำงานให้ตรงตามที่กำหนดถ้าเรารีบให้ทำเสร็จไวๆเราก็จะไม่มีความเครียดสะสมพร้อมสำหรับงานใหม่ๆที่จะได้ต่อไปถ้าเรายิ่งเก็บงานไว้เยอะๆเราก็จะมีความเครียดเพิ่มขึ้นเพราะไม่รู้จะทำงานไหนก่อน
-ยอมรับทุกการชื่นชมและตำหนิ
ไม่ควรรับแต่คำชื่นชมเราต้องยอมรับคำตำหนิด้วยเพื่อให้เรารู้ว่าเราทำผิดพลาดตรงไหนดีกว่าปล่อยให้มันสายเกินไปกว่าจะแก้ตอนนั้นเราคงมีปัญหามากมายจนทำอะไรไม่ถูก
-ทำตามสัญญา
ในการทำงานเราก็ต้องตั้งมั่นกับตัวเองว่าตัวเองจะทำให้อะไรให้สำเร็จมาทำงานให้ตรงเวลาตั้งจุดมุ่งหมายเอาไว้แล้วทำมันให้สำเร็จเมื่อเราทำสำเร็จถึงแม้จะไม่มีผลตอบแทนใดๆแต่ก็ทำให้เรามีความสุขได้
-ไม่ทำสิ่งที่เราคิดว่าไม่ดี
เมื่อเรารู้ว่าสิ่งไหนไม่ดีเราก็ไม่ควรนำตัวเองเข้าไปอยู่ในสิ่งต่างๆเหล่านั้นเพราะสิ่งเหล่านั้นอาจจะย้อนกลับมาทำให้เราเครียดและมีปัญหาในการทำงานได้
-ทำงานอย่างมืออาชีพ
การทำงานเราต้องแสดงความเป็นมืออาชีพออกมาให้คนอื่นเห็นตั้งใจทำงานและรับผิดชอบในหน้าที่ของตัวเองอย่าทำให้ผู้อื่นต้องเดือดร้อนเพราะเราปล่อยปละละเลยในหน้าที่ของเรา
-ผูกมิตรกับผู้อื่น
การจะทำงานอย่างมีความสุขนั้นเราต้องทำให้คนรอบข้างเพื่อนร่วมงานเห็นว่าเราไม่มีผิดมีภัยไม่แทงข้างหลังผูกมิตรกับเพื่อนร่วมงานเพื่อให้การทำงานร่วมกันจะได้ทำอย่างมีความสุข
-หางานใหม่
แม้ว่าเราจะไม่มีสามารถมีความสุขในการทำงานได้แต่ก็ยังมีอีกทางเลือกคือหางานใหม่เพื่อให้ปัญหาทุกอย่างหมดไปและเมื่อเริ่มงานใหม่เราก็ต้องทำตัวใหม่เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาอีก
ความเครียดเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้การทำงานนั้นล้มเหลวเพราะว่าเมื่อเราเครียดจะส่งผลต่อการรับรู้ความคิดความอ่านที่ทำให้การทำงานนั้นด้อยประสิทธิภาพลงเมื่อการทำงานด้อยประสิทธิภาพลงก็ส่งผลให้งานที่ได้ออกมานั้นไม่ตรงตามความต้องการที่เรามุ่งหวังเอาไว้
ปัจจัยอีกอย่างหนึ่งที่ทำให้การทำงานนั้นด้อยประสิทธิภาพลงนั้นก็คือ
-แรงกดดันทั้งจากงานที่ทำอยู่ซึ่งก็คือการถูกใช้งานที่หนักจนเกินไปหรือให้เราทำงานที่ต้องทำเป็นทีมแต่ให้เราทำคนเดียว
-แรงกดดันจากเพื่อนร่วมงานซึ่งก็คือการแข่งขันกันเองภายในบริษัทการนินทาลับหลังเมื่อเราเข้าหาเจ้านายและการถูกตำหนิเมื่อทำให้เพื่อนร่วมงานต้องโดนตำหนิไปด้วย
-แรงกดดันจากเจ้านายซึ่งก็คือการให้งานอย่างไม่มีเหตุผลและไม่มีผลตอบแทนที่เหมาะสมเช่นบอกลูกน้องว่าถ้างานนี้สำเร็จจะเพิ่มโบนัสปลายปีแต่สุดท้ายก็ไม่เพิ่มให้การทำงานเอาหน้าทั้งๆที่เจ้านายไม่ได้ทำอะไรเลยใช้ลูกน้องทำงานอย่างเดียวซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ทำให้เกิดความเครียดในการทำงานซึ่งส่งผลต่องานที่เรากำลังทำอยู่
ในบทความนี้เราจะมาพูดถึงการทำงานอย่างไรให้มีความสุข ซึ่งมีดังต่อไปนี้
ทำงานอย่างไรให้มีความสุข
-มีความสุขในการทำงาน
อยู่ที่เราว่าเราจะเลือกมองว่าการทำงานนั้นทำให้เราเครียดหรือมีความสุขเพราะการทำงานมันก็ต้องมีทั้งสองด้านทั้งความเครียดและความสุขถ้าเราเลือกที่จะลืมด้านเครียดไปเราก้จะทำงานอย่างมีความสุข
-ทำสิ่งที่เรารัก
เมื่อเราเจอเรื่องเครียดๆเราอาจจะหาเวลาทำสิ่งที่เราชอบเราสนใจเพื่อให้ความเครียดนั้นผ่อนคายลงเช่นเมื่อเราต้องทำงานหนักและอดนอนเราอาจจะใช้เวลาช่วงหนึ่งในการไปดูหนังที่เราชอบเพื่อการผ่อนคลายเป็นต้น
-พัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
ในการทำงานเมื่อเรารู้สึกเบื่อๆหรือไม่รู้ว่าจะทำอะไรเราอาจจะลองหยิบงานใหม่ๆขึ้นมาทำเพื่อให้ตัวเองได้พัฒนาความสามารถเพิ่มเติมขึ้นซึ่งจะทำให้เรารู้สึกตื่นเต้นที่ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
-มีความรับผิดชอบ
เมื่อเราทำงานและได้รับมอบหมายงานมาเราก็ต้องทำงานให้ตรงตามที่กำหนดถ้าเรารีบให้ทำเสร็จไวๆเราก็จะไม่มีความเครียดสะสมพร้อมสำหรับงานใหม่ๆที่จะได้ต่อไปถ้าเรายิ่งเก็บงานไว้เยอะๆเราก็จะมีความเครียดเพิ่มขึ้นเพราะไม่รู้จะทำงานไหนก่อน
-ยอมรับทุกการชื่นชมและตำหนิ
ไม่ควรรับแต่คำชื่นชมเราต้องยอมรับคำตำหนิด้วยเพื่อให้เรารู้ว่าเราทำผิดพลาดตรงไหนดีกว่าปล่อยให้มันสายเกินไปกว่าจะแก้ตอนนั้นเราคงมีปัญหามากมายจนทำอะไรไม่ถูก
-ทำตามสัญญา
ในการทำงานเราก็ต้องตั้งมั่นกับตัวเองว่าตัวเองจะทำให้อะไรให้สำเร็จมาทำงานให้ตรงเวลาตั้งจุดมุ่งหมายเอาไว้แล้วทำมันให้สำเร็จเมื่อเราทำสำเร็จถึงแม้จะไม่มีผลตอบแทนใดๆแต่ก็ทำให้เรามีความสุขได้
-ไม่ทำสิ่งที่เราคิดว่าไม่ดี
เมื่อเรารู้ว่าสิ่งไหนไม่ดีเราก็ไม่ควรนำตัวเองเข้าไปอยู่ในสิ่งต่างๆเหล่านั้นเพราะสิ่งเหล่านั้นอาจจะย้อนกลับมาทำให้เราเครียดและมีปัญหาในการทำงานได้
-ทำงานอย่างมืออาชีพ
การทำงานเราต้องแสดงความเป็นมืออาชีพออกมาให้คนอื่นเห็นตั้งใจทำงานและรับผิดชอบในหน้าที่ของตัวเองอย่าทำให้ผู้อื่นต้องเดือดร้อนเพราะเราปล่อยปละละเลยในหน้าที่ของเรา
-ผูกมิตรกับผู้อื่น
การจะทำงานอย่างมีความสุขนั้นเราต้องทำให้คนรอบข้างเพื่อนร่วมงานเห็นว่าเราไม่มีผิดมีภัยไม่แทงข้างหลังผูกมิตรกับเพื่อนร่วมงานเพื่อให้การทำงานร่วมกันจะได้ทำอย่างมีความสุข
-หางานใหม่
แม้ว่าเราจะไม่มีสามารถมีความสุขในการทำงานได้แต่ก็ยังมีอีกทางเลือกคือหางานใหม่เพื่อให้ปัญหาทุกอย่างหมดไปและเมื่อเริ่มงานใหม่เราก็ต้องทำตัวใหม่เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาอีก
5สิ่งที่พนักงานต้องการจากการทำงาน
ในการทำงานพนักงานก็มีสิ่งที่ต้องการเพื่อให้การทำงานเป็นไปอย่างมีความสุขและสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพหลายๆบริษัทมองข้ามความต้องการของพนักงานไปแต่ในบริษัทของต่างชาติจะสนใจความต้องการของพนักงานเพราะเมื่อพนักงานได้สิ่งที่ต้องการก็จะสามารถทำงานให้กับบริษัทได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งถึงแม้บริษัทอาจจะต้องลงทุนอะไรบ้างเพื่อความต้องการของพนักงานแต่ผลตอบแทนที่จะได้รับนั้นคุ้มค่ามากบริษัทต้องไม่ลืมว่างานนั้นจะออกมาดีได้ขึ้นอยู่กับพนักงานว่ามีความตั้ใจในการทำงานมากแค่ไหนถ้าพนักงานมีความสุขในการทำงานยิ้มแย้มแจ่มใสตลอดเวลาในการทำงานโดนไม่มีความเครียดเข้ามาทำให้การทำงานนั้นเสียผลตอบแทนที่บริษัทจะได้รับนั้นยิ่งกว่าคุ้มค่าในวันนี้เราจะมาบอก5สิ่งที่พนักงานต้องการเพื่อให้การทำงานนั้นมีประสิทธิภาพและทำงานอย่างมีความสุข
5 สิ่งที่พนักงานต้องการเพื่อให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.อยากได้การชื่นชม
คนเราเมื่อทำงานได้ดีก็ต้องการการชื่นชมจากเจ้านายหรือผลตอบแทนจากบริษัทซึ่งการให้สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่การสปอยพนักงานแต่เป็นเหมือนการให้รางวัลเพื่อให้พนักงานคนอื่นตั้งใจทำงานเพื่อจะได้รางวัลเช่นบริษัทแห่งหนึ่งตั้งกฎไว้ว่าใครมาทำงานตรงเวลาตลอด1ปีจะให้โบนัสปลายปีเพิ่มซึ่งก็เป็นเทคนิคในการดึงดูดใจให้พนักงานมาทำงานตรงต่อเวลาและก็เป็นภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กรอีกด้วย
2.อยากได้รับความนับถือ
เมื่อทำงานคงไม่มีใครอยากถูกกดขี่ข่มเหงคนทุกคนมีเกียรติและศักดิศรีบริษัทก็ควรให้เกียรติพนักงานไม่ใช่มองว่าพนักงานเป็นเพียงแค่คนงานคนหนึ่งต้องมองเหมือนพนักงานคือครอบครัวทำงานร่วมกันก็ต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกันถึงจะไปรอด
3.มีเพื่อนร่วมงานที่ดี
การทำงานกับผู้อื่นถ้าเราเจอกับเพื่อนร่วมงานที่ดีเราก็จะสามารถทำงานได้อย่างสบายใจไม่ต้องกังวลว่าจะโดนแทงข้างหลังเมื่อไหร่เพื่อนร่วมงานที่ดีต้องช่วยเหลือกันในทุกสถานการณ์โดยไม่ทิ้งกัน
4.สามารถทำตามวัฒนธรรมองค์กรได้
แต่ละองค์กรก็มีวัฒนธรรมในการทำงานไม่เหมือนกันบางครั้งบริษัทก็ต้องปรับวัฒนธรรมเพื่อให้พนักงานทำงานได้อย่างสบายใจและไม่เครียดจนเกินไป
5.ทำงานอย่างมีจุดมุ่งหมาย
ในการทำงานเราต้องทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายต้องวางแผนไม่ใช่บริษัทให้งานมาแบบกว้างๆทำไปเรื่อยๆโดยไม่รู้จุดหมายซึ่งจะทำให้พนักงานเหนื่อยและเบื่อทำให้การทำงานไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากขาดจุดมุ่งหมายในการทำงาน
5 สิ่งที่พนักงานต้องการเพื่อให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.อยากได้การชื่นชม
คนเราเมื่อทำงานได้ดีก็ต้องการการชื่นชมจากเจ้านายหรือผลตอบแทนจากบริษัทซึ่งการให้สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่การสปอยพนักงานแต่เป็นเหมือนการให้รางวัลเพื่อให้พนักงานคนอื่นตั้งใจทำงานเพื่อจะได้รางวัลเช่นบริษัทแห่งหนึ่งตั้งกฎไว้ว่าใครมาทำงานตรงเวลาตลอด1ปีจะให้โบนัสปลายปีเพิ่มซึ่งก็เป็นเทคนิคในการดึงดูดใจให้พนักงานมาทำงานตรงต่อเวลาและก็เป็นภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กรอีกด้วย
2.อยากได้รับความนับถือ
เมื่อทำงานคงไม่มีใครอยากถูกกดขี่ข่มเหงคนทุกคนมีเกียรติและศักดิศรีบริษัทก็ควรให้เกียรติพนักงานไม่ใช่มองว่าพนักงานเป็นเพียงแค่คนงานคนหนึ่งต้องมองเหมือนพนักงานคือครอบครัวทำงานร่วมกันก็ต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกันถึงจะไปรอด
3.มีเพื่อนร่วมงานที่ดี
การทำงานกับผู้อื่นถ้าเราเจอกับเพื่อนร่วมงานที่ดีเราก็จะสามารถทำงานได้อย่างสบายใจไม่ต้องกังวลว่าจะโดนแทงข้างหลังเมื่อไหร่เพื่อนร่วมงานที่ดีต้องช่วยเหลือกันในทุกสถานการณ์โดยไม่ทิ้งกัน
4.สามารถทำตามวัฒนธรรมองค์กรได้
แต่ละองค์กรก็มีวัฒนธรรมในการทำงานไม่เหมือนกันบางครั้งบริษัทก็ต้องปรับวัฒนธรรมเพื่อให้พนักงานทำงานได้อย่างสบายใจและไม่เครียดจนเกินไป
5.ทำงานอย่างมีจุดมุ่งหมาย
ในการทำงานเราต้องทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายต้องวางแผนไม่ใช่บริษัทให้งานมาแบบกว้างๆทำไปเรื่อยๆโดยไม่รู้จุดหมายซึ่งจะทำให้พนักงานเหนื่อยและเบื่อทำให้การทำงานไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากขาดจุดมุ่งหมายในการทำงาน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)